Carbon Capture and Storage (CCS)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
PAIBOONKIJ SUPPLY LIMITED PARTNERSHIP
Advertisements

นโยบายและแนวทาง การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ ของกรุงเทพมหานคร
ครูนุชนารถ เมืองกรุง โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ. เมือง จ. พะเยา
Dust Explosion.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ภาวะโลกร้อน นายอัศวิน สมบูรณชนะชัย คณะอุตสาหกรรมเกษตร ปี2.
10วิธีลดภาวะโลกร้อน จัดทำโดย
Global warming สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
อิทธิพลของสภาวะโลกร้อนที่ส่งผลต่อ แมลงศัตรูพืช
เรื่อง เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับสมบัติของแข็ง ของเหลว และ แก๊ส
ภาวะโลกร้อน ด.ช เกียรติณรงค์ นันทปัญญา ม.2/2 เลขที่ 2
ภาวะโลกร้อน จัดทำโดย 1. ด.ช. ศักดิ์ดา โนนน้อย เลขที่ ด.ช. ณัฐชนน วงศ์สุริยา เลขที่ ด.ญ. มินตรา เสือภู่ เลขที่ ด.ญ. วราภรณ์ คอบุญทรง เลขที่
6. อย่าได้ยึดถือโดยการคาดคะเน การ คาดการณ์ตามประวัติศาสตร์ ตาม สถิติ ความน่าจะเป็น ซึ่งอาจจะผิดก็ ได้ เพราะเห็นแค่ร้อย อย่าเหมาว่าที่ ร้อยเอ็ดจะเป็นไปด้วย.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming)
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
บทที่ 2 การผลิตและการส่งพลังงานไฟฟ้า.
ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน
Fuel cell Technology  เซลล์เชื้อเพลิง.
การผลิตไฟฟ้าจากขยะ โดยการฝังกลบขยะมูลฝอย
ยินดีต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่.
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)
การละลายของธารน้ำแข็งและภาวะน้ำท่วม
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับมลพิษทางอากาศ
เทคโนโลยีพลังงาน.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
สถานการณ์ แนวโน้มและผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
รู้จัก...ก๊าซหุงต้ม (LPG)...ให้มากขึ้น...
Combined Cycle Power Plant
อย่างถูกหลักสุขาภิบาล
คณะคุรุศาสตร์อุตสาหกรรม วิทยาลัยเทคนิคมหาสารคาม
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการ การตรึงราคา/กำหนดระดับราคาน้ำมัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 24 สิงหาคม 2552
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเรื่อง มาตรการคุ้มครองความปลอดภัยในการประกอบกิจการโรงงาน ขุด ตัก ลอกหรือดูดทรายหรือดินในที่ดินกรรมสิทธิ์ สำหรับใช้ในการก่อสร้าง.
ภาวะโลกร้อน ป้องกัน แก้ปัญหา ภาวะโลกร้อน ผลกระทบ ผู้จัดทำ สาเหตุ
ก๊าซธรรมชาติ 1 1.
การจัดการน้ำ WATER MANAGEMENT.
ชุดทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันที่ใช้ทอด
ภาวะโลกร้อน (Global Warming)
วิชาวิทยาศาสตร์ (ว31101 )ชั้น ม. 1
ความปลอดภัยในการใช้ก๊าซ
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
Welcome to. โลกร้อน คืออะไร ? ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศ เปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราใน ปัจจุบัน สังเกตได้จาก.
หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน
ชื่อเรื่อง วัฏจักรของน้ำ จัดทำโดย เด็กชาย โชคชัย คำมะยอม เลขที่ 37 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 เสนอ อ.อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร สารบัญ.
โลกร้อน!!ครับ ภาวะโลกร้อน คือ การที่ อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเพิ่มขึ้นจากภาวะเรือน กระจก หรือที่เรารู้จักกันดีในชื่อ ว่า Green house effect ซึ่งมีต้นเหตุจากการที่มนุษย์
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
สิ่งแวดล้อมกับภาวะโลกร้อน
คลิกที่ตัวผมได้เลย!! ณ ดวงดาวแห่งหนึ่ง....
จิตสำนึกด้านการอนุรักษ์พลังงาน
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
RDF/ MSW Industry for Thailand
สภาวะโลกร้อน ร้อน จัดทำโดย นายอรรถพล เพ็งพันธ์. ปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดสภาวะโลกร้อน ซี่งปรากฏการณ์ทั้งหลายเกิดจากภาวะโลกร้อนขึ้นที่มีมูลเหตุมา จากการปล่อยก๊าซพิษต่าง.
ภาวะโลกร้อน.
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ประเภทโครงการหรือกิจกรรม ลำดับที่ ๘ โรงงานถลุงหรือหลอมเหล็ก
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของ โลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
น้ำ.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง น้ำแข็งขั้วโลกละลาย
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่ สูงขึ้นเรื่อยๆ.
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการปล่อยทิ้งสารเบนซีน และสาร 1, 3 - บิวทาไดอีน จากโรงงานอุตสาหกรรมเคมี ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
ภาวะโลกร้อน.
ความกระด้างของน้ำ (water Hardness)
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
ภาวะโลกร้อนเป็นภัยพิบัติที่มาถึง โดยที่เราทุกคน ต่างทราบถึงสาเหตุของการเกิดเป็นอย่างดี นั่นคือ การที่มนุษย์เผาผลาญเชื้อเพลิงฟอซซิล เช่น ถ่าน หิน น้ำมัน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Carbon Capture and Storage (CCS) โดย นางสาว พิลาวัณย์ สงวนไชยไผ่วงศ์ 52402625

Outline บทนำ การดักจับ วิธีการดักจับ การกักเก็บ ค่าใช้จ่าย โครงการที่ประสบผลสำเร็จ ผลกระทบ

Carbon Capture and Storage (CCS)

การดักจับ CO2 การดักจับสามารถทำได้ 3 ช่วง ก่อนการเผาไหม้ ระหว่างการเผาไหม้ หลังการเผาไหม้ การดักจับCO2 คือการเอาCO2ออกจากระบบไปเก็บไว้ที่ใดที่หนึ่งโดยไม่ปล่อยให้มันออกสู่บรรยากาศ โดยการดักจับแก๊สCO2 สามารถทำได้ 3 ช่วง 1.ก่อนการเผาไหม้ 2.ระหว่างการเผาไหม้ 3.หลังการเผาไหม้ ซึ่งโดยทั่วไปการดักจับก๊าซ CO2 จะถูกดักจับหลังจากเชื้อเพลิงถูกเผาไหม้แล้ว

การดักจับ CO2 สามารถทำได้ 4 วิธี ใช้สารเคมีดูดซับหรือละลาย CO2 และปล่อยCO2 ก็ต่อเมื่อได้รับความร้อน ใช้เมนเบรนแยกแก๊ส (ใช้พลังงานน้อยสุด) ลดอุณหภูมิลงเพื่อให้ CO2 ควบแน่นเป็นของเหลว (ใช้พลังงานมากสุด) ใช้สารดูดซับ เช่น ซีโอไลย์ ถ่านกัมมันต์

การกักเก็บ CO2 สามารถเก็บได้ 3 รูปแบบ เก็บในรูปแก๊ส เก็บในรูปของเหลว เก็บในรูปของแข็ง

การกักเก็บ CO2 (ต่อ) การเก็บในรูปแก๊ส เป็นการฉีดแก๊ส CO2ไว้ใต้ดินระดับลึกโดยลึกอย่างน้อย 1 km ซึ่งอาจเป็นบ่อน้ำมัน บ่อแก๊ส การเก็บในรูปแก็ส เป็นการฉีดแก๊สไว้ใต้ดินระดับลึกโดยลึก(อย่างน้อย 1 km) ซึ่งอาจเป็นบ่อน้ำมัน บ่อแก๊ส สำหรับบ่อน้ำมันที่ใกล้หมดแล้วCO2จะช่วยดันน้ำมันขึ้นมา ทำให้สูบได้ง่ายขึ้น โดยที่ IPCC ได้มีการประเมิณว่าหากเก็บในสถานที่ที่เหมาะสมจะทำให้ CO2 เหลืออยู่ในที่เก็บนั้น 99% เมื่อผ่านไป 1000 ปี ที่มา: http://www.americainfra.com/article/carbon-capture-and-storage/[2010]

เก็บในรูปของเหลว การเก็บ CO2 ในรูปของเหลว ในมหาสมุทร ทำได้ 2 แบบ ส่งCO2ไปตามท่อทึกประมาณ 1 km เพื่อทำให้CO2 ละลายไปกับน้ำ หรือส่งไปที่ความลึก 3 km เพื่อให้ CO2 กลายเป็นของเหลวที่มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำ ส่ง CO2 เหลวไปกับเรื่อเพื่อส่งไปยังplatform กลางทะเล หรือนำไปปล่อยกลางทะเลโดยตรง เป็นการทำให้ก๊าซCO2 เป็นของเหลวและส่งไปตามท่อที่วางไปสู่มหาสมุทรที่ความลึก 1-3 km และปล่อยให้ CO2 ละลายในน้ำเพื่อให้ CO2 กลายเป็บของเหลวที่มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำ (แต่วิธีนี้น่าจะเป็นวิธีที่ให้ผลทางด้านลบซะมากกว่าเนื่องจากCO2จะทำให้น้ำทะเลมีฤทธิเป็นกรดมากขึ้น) ที่มา: http://www.powerplantccs.com/ccs/sto/nc/oce/oce.html [2010]

การกักเก็บ CO2 (ต่อ) เก็บในรูบของแข็ง แคลเซียมคาร์บอเนต เป็นการให้ก๊าซ CO2 ทำปฏิกิริยากับโลหะออกไซด์ แล้วได้สารประกอบคาร์บอเนต เป็นการให้ก๊าซ CO2 ทำปฏิกิริยากับโลหะออกไซด์ แล้วได้สารประกอบคาร์บอเนต เช่น แมกนีเซียมออกไซด์ แคลเซียมออกไซด์ โซเดีย,ออกไซด์ (แต่การที่จะทำให้เกิดคาร์บอเนตในอุณหภูมิปกตินั้นจะช้ามาก บางทีจึงต้องให้อุณหภูมิและความดัดที่สูงขึ้นเพื่อให้เกิดเป็นคาร์บอเนตที่เร็วขึ้นการทำแบบนี้จะทำให้ใช้พลังงานเพิ่มากขึ้น) แมกนีเซียมคาร์บอเนต ที่มา: http://crcc.tradeindia.com/Exporters_Suppliers/Exporter14418.213151/Magnesium-Carbonate.htmpl[2010]

ค่าใช้จ่ายในการดักจับและกักเก็บCO2 ไม่มีการประมาณค่าใช้จ่ายที่แน่นอน (แต่มีค่าใช้จ่ายที่สูงมาก) ตัวอย่าง โรงไฟฟ้า FutureGen ในรัฐ Illinois ประเทศสหรัฐอเมริกา มีโครงการจะทำ CCS แต่ต้องพับไปเพราะเงินลงทุนบานปลายจาก 800 ล้านเหรียญ กลายเป็น 1800 ล้านเหรียญ

โครงการ CCS ที่ประสบผลสำเร็จ โครงการ Weyburn-Midale ของบริษัท Dakotaประเทศแคนาดา โครงการ Salah ของบริษัท BP ในแอลจีเลีย โครงการของบริษัทนอร์เว Statoil โครงการCCSที่ประสบผลสำเร็จมีอยู่ 3 โครงการ

Dakota Gasification Company ที่มา: http://www.dakotagas.com/CO2_Capture_and_Storage/index.html

Dakota Gasification Company เจ็ค CCS คือ Weyburn-Midale เป็นโปรเจ็ค CCS 1 ใน 3 ของโลก ที่สำเร็จ โดยเก็บ CO2ในรูปของเหลว โดยใช้เรือขนส่งไปทิ้งที่บ่อน้ำมันเก่ากลางทะเล สามารถดักจับ CO2 ได้ 3 ล้านตันต่อปี ดักจับ CO2 ได้สูงสุดถึง 50% ของปริมาณที่โรงงานปล่อยออกมาในแต่ละวัน ตั้งแต่ปี 2000 โรงงานได้มีการปลดปล่อยแก๊ส CO2 น้อยลง 45% จนถึงปี 2008 สามารถดักจับ CO2 ได้มากกว่า 17 ล้านตัน

Salah Gas Project ที่มา: http://www.insalahco2.com/

Salah Gas Project เป็นบ่อแก๊สธรรมชาติของบริษัท BP ที่ทะเลทรายซาฮารา ประเทศแอลจิเรีย เป็นการดักจับ CO2 จากกระบวนการแยก CO2ออกจาก แก๊สธรรมชาติ โดยทางบริษิทได้อัดแก๊ส CO2 กลับลงไปยังบ่อแก๊ส ธรรมชาติ ซึ่งสามารถดักจับได้ประมาณ 1 ล้านตันต่อปี

Statoil ที่มา: http://www.statoil.com/en/TechnologyInnovation/NewEnergy/Co2Management/Pages/CarbonCapture.aspx

Statoil เขตทะเลทางเหนือของนอร์เวย์ โครงการนี้อยู่ที่บ่อแก๊สธรรมชาติ Sleipner เขตทะเลทางเหนือของนอร์เวย์ เป็นการร่วมทุนกันระหว่าง 3 บริษัทคือ Sonatrach, BP and Statoil (โดยที่โครงการ Salah ของ BP ก็อยู่ในโครงการนี้ด้วย) โดยการดักจับ CO2 จะเหมือนกับโครงการ Salah ซึ่งสามารถดักจับได้ 1 ล้านตันต่อปี

ผลกระทบจาก CCS การรั่วไหลของแก๊สCO2 99% จะรั่วไหลออกมาหมดภายในระยะเวลา 1000 ปี CO2 ที่ถูกเก็บอยู่ใต้ทะเลที่มีความลึก 1000-3000 m จะมีการละลายไปกับน้ำทะเล 30-85% ในระยะเวลา 500 ปี ที่มา:http://en.wikipedia.org/wiki/Carbon_capture_and_storage[2009]

ผลกระทบจากการรั่วไหลของแก๊ส CO2 ในปี 1986 ได้เกิดการรั่วไหลตามธรรมชาติของ CO2 ที่ทะเลสาบ Nyos, Cameroon ทำให้มีผู้เสียชีวิตกว่า 1700 คน ซึ่งการรั่วไหลในครั้งนี้มีการรั่วไหลของ CO2 มากกว่า 1 ล้านลูกบาศก์เมตร

Thank you for your attention

เอกสารอ้างอิง 1. http://en.wikipedia.org/wiki/Carbon_capture_and_storage[29 กันยายน 2553]. 2. http://www.dakotagas.com/CO2_Capture_and_Storage/index.html[29 กันยายน 2553] 3. http://www.insalahco2.com/ [29 กันยายน 2553] 4. http://www.statoil.com/en/TechnologyInnovation/NewEnergy/Co2Management /Pages/CarbonCapture.aspx [29 กันยายน 2553] 5. http://ec.europa.eu/environment/climat/ccs/index_en.htm [30 กันยายน 2553] http://www.vcharkarn.com/vcafe/149287 [30 กันยายน 2553] รุ้งนภา ทองภูล, 2009, Carbon Capture and Storage, ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ(MTEC)

-ปัจจุบันการศึกษาถึงผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ขนาดเล็กเมื่อมีการรั่วไหลของ CO2 ยังมีน้อยอยู่ มีการวิจัยพัฒนาระบบกักเก็บแบบถาวรอยู่