Perceptron and Delta rule training for the NN

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คำสั่งควบคุมในโปรแกรม Interactive C
Advertisements

การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
สรุปคำสั่ง if(เงื่อนไข)
การทำงานแบบเลือกทำ (Selection)
การเขียนโปรแกรม แบบมีโครงสร้าง (ต่อ)
ความหมายของความสัมพันธ์ (Relation)
Multilayer Feedforward Networks
Lecture no. 5 Control Statements
Lecture 4: ทางเลือก, เงื่อนไขของทางเลือก
ตัวอย่าง Flowchart.
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
บทที่ 5 การทำงานแบบวนซ้ำ
Visual Basic 6 By Samaporn Yendee VB6.
คำสั่งเพื่อการกำหนดเงื่อนไข
CE 112 บทที่ 5 การทำซ้ำในภาษา C
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
Repetitive Instruction
คำสั่งเงื่อนไขและการควบคุม
โครงสร้างควบคุม 1. โครงสร้างควบคุมแบบวนทางเลือก
คำสั่งควบคุมการทำงาน
การจำลองความคิด
ไกรฤกษ์ เชยชื่น, M.Eng. Electrical
Back-Propagation Learning (การเรียนรู้แบบแพร่กลับ) (ต่อ)
Adaline and Delta rule training for NN
น.ส.กฤติกา วงศาวณิช นายศุภชัย ตั้งบุญญะศิริ
การออกแบบโปรแกรมอย่างมีโครงสร้าง Structured Design
คำสั่งแบบมีเงื่อนไข IF Statement
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
การเขียนผังงานแบบโครงสร้าง
AI for Computer Game Dr.Yodthong Rodkaew
คำสั่งควบคุมเงื่อนไข และการทำงานเป็นรอบ
สรุปการใช้ประโยชน์ จากโปรแกรมกระดาษคำนวณ
Flow Control.
เทคนิคการค้นหาข้อมูล
การทำซ้ำด้วยคำสั่ง while
การทำซ้ำด้วย คำสั่ง for ง การเขียนได นามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
คำสั่ง for ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การทดสอบความแปรปรวน ANOVA
คำสั่งควบคุมการทำงานของ ActionScripts
Week 3 Flow Control in PHP
การเขียนผังงานแบบทำซ้ำ
Week 6 การทำซ้ำโดย for loop
Week 5 การทำซ้ำโดย while loop และ do while loop
Chapter 3 Simple Supervised learning
Week 6 การทำซ้ำโดย for loop
Chapter 5 การทำซ้ำโดย while loop และ do while loop
Week 5 การทำซ้ำโดย while loop และ do while loop
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
บทที่ 10 คำสั่งควบคุม OUTLINE 1. คำสั่งแบบเรียงลำดับ (Sequence)
คำสั่งควบคุมขั้นตอน Flow control statements
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
CHAPTER 4 Control Statements
Fuzzy ART.
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
ตัวดำเนินการ และนิพจน์คณิตศาสตร์
PHP การตรวจสอบเงื่อนไข.
บทที่ 7 การวิเคราะห์งานและการโปรแกรม แบบมีโครงสร้าง
คำสั่งทำซ้ำ for คำสั่ง for เป็นคำสั่งทำซ้ำในลักษณะ Definite loop คือทราบจำนวนรอบที่แน่นอนในการทำงาน ซึ่งจะใช้ตัวแปร 1 ตัวในการนับจำนวนรอบว่าครบตามกำหนดหรือไม่
การเขียน แบบวนซ้ำ , วนลูป
Flowchart การเขียนผังงาน.
Wattanapong suttapak SE, ICT University of Phayao.
การทำซ้ำ Pisit Nakjai.
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
การทำซ้ำ (for).
Nested loop.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Perceptron and Delta rule training for the NN ไกรฤกษ์ เชยชื่น, M.Eng. Electrical

Perceptron Architecture: สำหรับ 1 Neural, อินพุต จำนวน n ตัว Activation function 1 b X1 w1 เมื่อ θ คือ เทรโชลด์ (threshold) ซึ่ง เป็นค่าคงที่ wi Xi Y wn Xn

Perceptron (Cont.) Algorithm: สามารถใช้ได้กับทั้ง Input แบบ binary (0,1) และ bipolar (1, -1) Output แบบ bipolar (1, -1) Step0: - กำหนดค่าเริ่มต้นให้กับ weight, w1, w2, …, wi,…, wn และ bias, b (เพื่อความง่ายเรามักกำหนด w = 0 และ b = 0) กำหนด learning rate (อัตราการเรียนรู้) , α ( ) (เพื่อความง่ายเรามักกำหนด α = 1) - กำหนดเทรโชลด์ เป็นค่าคงที่ที่ไม่เป็นค่า ลบ

Perceptron (Cont.) Algorithm: สามารถใช้ได้กับทั้ง Input แบบ binary (0,1) และ bipolar (1, -1) Output แบบ bipolar (1, -1) Step1: ทำซ้ำ Step2 – 5 จนว่า เงื่อนไขใน Step5 จะเป็นเท็จ (false) Step2: ทำซ้ำ Step2 – 4 ในแต่ละคู่ input (x1,x2,…,xn) กับ target output, t (1 หรือ -1) Step3: คำนวณ real output, y ดังนี้

Perceptron (Cont.) Algorithm: สามารถใช้ได้กับทั้ง Input แบบ binary (0,1) และ bipolar (1, -1) Output แบบ bipolar (1, -1) Step4: ปรับค่า weight และ bias โดย If (ถ้า) target output (t) ≠ real output (y) else (มิฉะนั้นแล้ว)

Perceptron (Cont.) Algorithm: สามารถใช้ได้กับทั้ง Input แบบ binary (0,1) และ bipolar (1, -1) Output แบบ bipolar (1, -1) Step5: ทดสอบเงื่อนไขการหยุด โปรแกรม If (ถ้า) weight ใน Step2 ไม่เปลี่ยนแปลง ให้หยุดโปรแกรม else (มิฉะนั้นแล้ว) ไปทำ Step1

ตัวอย่าง: Perceptron : สำหรับ AND function กำหนดให้ Input แบบ binary (0,1) และ Output แบบ bipolar (1, -1) ตารางการทำงานของ AND x1 x2 1 (bias) Target output 1 -1 Step0: กำหนดค่าเริ่มต้น weight, w1 = 0, w2 = 0 และ bias, b = 0 กำหนด learning rate (อัตราการเรียนรู้) , α = 1 กำหนด เทรโชลด์, θ = 0.2

ตัวอย่าง: Perceptron : สำหรับ AND function Step0 input y_in Real output, y Target output, t Weight change,Δw New weight (x1 x2 1) (Δw1 Δw2 Δb) (w1 w2 b) (0 0 0) (1 1 1) 1 (1 1 1) + =

ตัวอย่าง: Perceptron : สำหรับ AND function input y_in Real output, y Target output, t Weight change,Δw New weight (x1 x2 1) (Δw1 Δw2 Δb) (w1 w2 b) (รอบที่ 1) (0 0 0) (1 1 1) 1 (1 1 1) (1 0 1) 2 -1 (-1 0 -1) (0 1 0) (0 1 1) (0 -1 -1) (0 0 -1) (0 0 1) (0 0 -1) (0 0 -2) (รอบที่ 2) (1 1 0) (0 1 -1) -2 (0 0 0)

ตัวอย่าง: Perceptron : สำหรับ AND function input y_in Real output, y Target output, t Weight change,Δw New weight (x1 x2 1) (Δw1 Δw2 Δb) (w1 w2 b) (รอบที่ 3 - 9) ทำเป็นการบ้าน (0 0 0) … (รอบที่ 10) (1 1 1) (2 3 -4) (1 0 1) (0 1 1) (0 0 1)

1 X1 X2 Y b=-4 w1=2 w2=3 + - x2 x1 (1) (2)

การบ้าน: AND function โดย input และ output เป็น bipolar x1 x2 1 (bias) Target output -1 1