การวัดความสึกหรอของแบริ่งและเพลาข้อเหวี่ยง สามารถกระทำได้ 2 วิธี คือ การวัดด้วยการใช้พลาสติกเกจ การวัดโดยการใช้ไมโครมิเตอร์
พลาสติกเกจ (plastigage) ซองและสเกลวัด เส้นพลาสติกเกจ
ไมโครมิเตอร์ (Micromiter)
ถอดฝาครอบแบริ่งก้านสูบออก ลำดับการถอดน๊อตเพลาข้อเหวี่ยง
การสึกหรอ หรือการเสียหาย แบริ่งชาร์ป รอยขีดข่วน ดี เสีย ความแตกต่างระหว่างแบริ่งที่ เสียหายกับแบริ่งที่ดี
เช็ดน้ำมันจากแบริ่งเพลาข้อเหวี่ยงให้หมด ตัดพลาสติกเกจ ให้มีความยาวเท่าๆกับความกว้างของแบริ่ง
ถอดฝาครอบก้านสูบออกตรวจสอบ ดูพลาสติกเกจที่ถูกบีบ ตรวจสอบด้วยพลาสติกเกจ พลาสติกเกจ พลาสติกเกจ สเกลวัด สเกลวัด
พลาสติกเกจ แบนไม่สม่ำเสมอ อาจเนื่องจากการเรียวของข้อเหวี่ยงหรือแบริ่ง ก่อนขันเข้ากับเพลาข้อเหวี่ยง หลังขันเข้ากับเพลาข้อเหวี่ยง
การใช้ ไมโครมิเตอร์ เป็นเครื่องมือในการตรวจสอบ การใช้ ไมโครมิเตอร์ เป็นเครื่องมือในการตรวจสอบ การตรวจสอบด้วยสายตาดูรอยขีดข่วนและรอยแหว่ง รอยขีดข่วนและรอยแหว่ง ที่เพลาข้อเหวี่ยง
จุดที่ทำการวัด การวัดโดยใช้ไมโครมิเตอร์ ทำการวัด 4 จุด
การเจียร์ข้อเหวี่ยง
สรุป การวัดความสึกหรอของแบริ่งก้านสูบและเพลาข้อเหวี่ยงก็สามารถกระทำได้ 2 วิธี คือ การวัดด้วยการใช้พลาสติกเกจ การวัดโดยการใช้ไมโครมิเตอร์ แต่ก่อนอื่นการตรวจเราสามารถตรวจดูด้วยสายตาโดยดูรอยการขีดข่วนและการสึกหรอจากภายนอกเสียก่อนและเมื่อพบการสึกหรอมากกว่าค่าที่กำหนดก็ต้องทำการเจียร์เพลาข้อเหวี่ยงใหม่