บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
Offer curves and the terms of trade ดร.วิธาดา อนุกูลวรรธกะ
3.4 ประโยชน์จากการค้าภายใต้ข้อสมมติต้นทุนเพิ่มขึ้น
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายได้ของผู้บริโภค
ตัวอย่างการประยุกต์อุปสงค์/อุปทาน
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
ดุลยภาพทั่วไป (General equilibrium)
ส่วนเกินของผู้บริโภค (consumer surplus)
การประยุกต์ 1. Utility function
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
อุปสงค์ อุปทาน และ การกำหนดราคา Applications
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
รศ.ดร. ชวินทร์ ลีนะบรรจง
Q1. การที่ Supply เลื่อนระดับดังภาพ เกิดขึ้นเนื่องจากสาเเหตุใดบ้าง ?
กลไกราคากับผู้บริโภค
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
บทที่ 7 รายรับ รายรับจากการผลิต ลักษณะของเส้นรายรับต่างๆ
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
พฤติกรรมผู้บริโภค.
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
พฤติกรรมผู้บริโภค.
ความยืดหยุ่นอุปสงค์ และอุปทาน อ. ศิวาพร ทรงวิวัฒน์
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
บทที่ 8 รายรับและกำไรจากการดำเนินธุรกิจ
โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา
โครงสร้างต้นทุน บทที่ 8 การตั้งราคาโดยพิจารณาจากต้นทุน
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
Demand in Health Sector
ทฤษฎีเฮิคเชอร์และโอลิน
ตลาดเงินตราต่างประเทศ และอัตราแลกเปลี่ยน
บทที่ 4 การกำหนดเป็นดุลยภาพของตลาดการเปลี่ยนแปลง ภาวะดุลยภาพ และการแทรกแซงดุลยภาพของตลาด ความหมายของดุลยภาพของตลาด ดุลยภาพ (Equilibrium ) หมายถึง ภาวะสมดุลที่เกิดขึ้นเมื่ออุปสงค์เท่ากับอุปทานโดยจุดดุลยภาพจะแสดงราคาดุลยภาพ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ตลาด ( MARKET ).
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
ทฤษฎีการผลิต.
เงินเฟ้อ และการว่างงาน
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
อุปสงค์ อุปทาน ดุลยภาพของตลาด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน

ความหมายและกฎของอุปสงค์ จำนวนสินค้าหรือบริการชนิดหนึ่งที่ผู้บริโภคประสงค์จะซื้อในช่วงเวลาหนึ่ง ณ ระดับราคาต่างๆของสินค้าและบริการนั้น หรือ ณ ระดับรายได้ต่างๆของผู้บริโภค หรือ ณ ระดับราคาต่างๆ ของสินค้าชนิดอื่นที่เกี่ยวข้อง

อุปสงค์ประกอบด้วย 2 เงื่อนไข ผู้บริโภคมีความสามารถที่จะซื้อ ( Ability to Pay ) ผู้บริโภคมีความเต็มใจที่จะซื้อ ( Willing to Pay ) ชนิดของอุปสงค์มี 3 ชนิด อุปสงค์ต่อราคา ( Price Demand ) อุปสงค์ต่อรายได้ ( Income Demand ) อุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่นหรืออุปสงค์ไขว้ ( Cross Demand )

กฎของอุปสงค์ (Law of Demand ) ปริมาณของสินค้าและบริการชนิดใดชนิดหนึ่งที่ผู้บริโภคประสงค์ที่จะซื้อย่อมแปรผันผกผันกับระดับราคาของสินค้าและบริการชนิดนั้นเสมอ ฟังก์ชันของอุปสงค์ (Demand Function) Qx = f(Px) สมการอุปสงค์ Qx = a - bPx

สาเหตุที่ปริมาณซื้อแปรผกผันกับราคาสินค้า ผลทางรายได้ ( Income Effect ) ผลทางการทดแทน ( Substitution Effect ) A B 10 5 20 50 D ราคา ปริมาณ

ปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์ (Demand Determinants) ราคาของสินค้า (Price) ระดับรายได้ของผู้บริโภค (Income) รสนิยมของผู้บริโภค (Tastes) ราคาสินค้าอื่นๆที่เกี่ยวข้อง (Relative Price) ขนาดของประชากร (Size of Population) การคาดคะเนราคาสินค้าในอนาคต (Price Expectation)

การเปลี่ยนแปลงปริมาณอุปสงค์และระดับอุปสงค์ การเปลี่ยนแปลงปริมาณอุปสงค์ (Change in demand quantity) คือ การเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อเนื่องจากราคาสินค้าเปลี่ยน โดยที่ปัจจัยอื่นคงที่ A B 10 5 100 200 D ราคา ปริมาณ

การเปลี่ยนแปลงปริมาณอุปสงค์และระดับอุปสงค์ (ต่อ) การเปลี่ยนแปลงระดับอุปสงค์ (Change in Demand) คือ การเปลี่ยนแปลงของปริมาณอุปสงค์ในขณะที่ราคาสินค้าและบริการคงที่ เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงปัจจัยต่างๆที่เป็นตัวกำหนดอุปสงค์ 20 50 A B 10 D ราคา ปริมาณ D1

อุปสงค์ของบุคคลและอุปสงค์ของตลาด อุปสงค์ของตลาดหาได้จากการนำอุปสงค์ส่วนบุคคลในการซื้อสินค้าแต่ละชนิด ณ ระดับราคาเดียวกันมารวมกัน D2 P Q 10 Dm D1 q1 q2 Q=q1+q2

อุปสงค์ต่อราคา INDIVIDUAL DEMAND : ส่วนบุคคล FIRM DEMAND : ผู้ผลิต INDUSTRY DEMAND / MARKET DEMAND : ของอุตสาหกรรม / ตลาด AGGREGRATE DEMAND : ระบบเศรษฐกิจ / ประเทศ EXTERNAL DEMAND : ภายนอกประเทศ

ความหมายของอุปทาน (Definition of Supply) ปริมาณของสินค้าและบริการชนิดใดชนิดหนึ่งที่ผู้ผลิตหรือผู้ขายต้องการจะขายสินค้า ณ ระดับราคาหนึ่งๆ ย่อมแปรผันโดยตรงกับราคาสินค้านั้น ฟังก์ชันของอุปทาน (Supply Function) Qx = f(Px) สมการอุปทาน Qx = a+bPx

ปัจจัยที่กำหนดอุปทาน (Supply Determinants) ราคาสินค้านั้น เทคโนโลยีในการผลิต ราคาปัจจัยการผลิต ราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้อง จำนวนผู้ขายในตลาด

เส้นอุปทาน (Supply Curve) A B 20 10 100 200 ราคา ปริมาณ S

การเปลี่ยนแปลงปริมาณอุปทานและระดับอุปทาน (Change in the Quantity Supplied) การเปลี่ยนแปลงปริมาณขายเกิดขึ้นเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงราคา เป็นการเคลื่อนย้ายจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่งบนเส้นอุปทาน ราคา 100 200 A B 20 10 ปริมาณ S

การเปลี่ยนแปลงของระดับอุปทาน (Shift in Supply Curve) การที่ปริมาณสินค้าที่ผู้ขายนำออกขายในตลาด ณ ระดับราคาเดิมได้เพิ่มขึ้นหรือลดลง เป็นการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดอุปทานเปลี่ยนโดยที่ราคาสินค้าคงที่ ปริมาณ ราคา P q1 S1 S S2 q q2

อุปทานส่วนบุคคลและอุปทานของตลาด อุปทานส่วนบุคคล : ปริมาณสินค้าที่ผู้ขายแต่ละคนนำออกขายในตลาด ณ ระดับราคาใดราคาหนึ่ง อุปทานของตลาด : ปริมาณหรือจำนวนทั้งหมดของสินค้าชนิดหนึ่งที่ผู้ขายทุกคนจะนำออกเสนอขายในตลาด ณ ระดับราคาต่างๆ D2 P Q 10 Dm D1 P1 q1 q2 Q=q1+q2 S1 S2 S=S1+S2

การกำหนดราคาและดุลยภาพของตลาด ราคาสินค้าและบริการชนิดใดชนิดหนึ่งจะถูกกำหนดโดยอุปสงค์และอุปทานของตลาดสินค้าและบริการชนิดนั้น ราคาดุลยภาพและปริมาณดุลยภาพจะเกิดพร้อมกันตรงระดับซึ่งปริมาณซื้อเท่ากับปริมาณขายพอดี เราเรียกสภาวะดังกล่าวว่า “ดุลยภาพตลาด” Pe Q S P E D Qe

การปรับตัวโดยอัตโนมัติของระบบราคา กรณีที่อุปสงค์ของสินค้าและบริการในตลาด ไม่เท่ากับอุปทานของสินค้าและบริการ กรณีที่ปัจจัยอื่นที่กำหนดอุปสงค์และอุปทานไม่เปลี่ยนแปลง กลไกราคาจะเป็นตัวปรับให้กลับสู่ดุลยภาพ Pe Q S P E D Qe P1 P2 Qc Qa Qb Qf A B F C Excess Supply Excess Demand

การเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพ เกิดขึ้นเนื่องจากปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์และอุปทานเปลี่ยนแปลง แบ่งได้ 3 กรณี - กรณีปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์เปลี่ยน ปัจจัยที่กำหนดอุปทานคงที่ - กรณีปัจจัยที่กำหนดอุปทานเปลี่ยน ปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์คงที่ - กรณีปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์และอุปทานเปลี่ยนทั้งคู่

กรณีปัจจัยกำหนดอุปสงค์เปลี่ยน เช่น รายได้ผู้บริโภคเพิ่มขึ้น , ราคาสินค้าที่เกี่ยวข้องเปลี่ยนแปลง P1 Q S P E1 D1 Q1 E2 D2 Q2 P2

กรณีปัจจัยกำหนดอุปสงค์และอุปทานเปลี่ยน P1 Q S1 P E1 D1 Q1 E2 D2 Q2 P2 S2

กรณีปัจจัยกำหนดอุปทานเปลี่ยน เช่น ราคาปัจจัยการผลิต , เทคโนโลยีการผลิตเปลี่ยนแปลง P1 Q S1 P E1 Q1 E2 D Q2 P2 S2