สรุป การประเมินผลการควบคุมภายใน ตามคำแนะนำ มาตรฐานการควบคุมภายใน ฯ ของ สตง. เล่ม 1
การประเมินผลการควบคุมภายใน ให้พิจารณา 1 เวลาที่ควรประเมิน 2 ประเด็นที่ควรประเมิน 3 การพิจารณากลั่นกรองคำตอบ 4 ขอบเขตการประเมิน แต่ละครั้ง 04/04/60
1. เวลาที่ควรประเมิน เวลาที่เหมาะสม คือ ช่วงเวลาที่ทุกสิ่งทุกอย่างเป็นไปโดยเรียบร้อยปกติ ช่วงเวลาที่วิกฤติการณ์ไม่ควรดำเนินการ
2. ประเด็นที่ควรประเมินผลการควบคุมภายใน 2. ประเด็นที่ควรประเมินผลการควบคุมภายใน 2.1 ประเด็น ความเพียงพอของการควบคุมภายใน 2.2 ประเด็น การนำระบบควบคุมภายในเข้าใช้ 2.3 ประเด็น การถือปฏิบัติจริง 2.4 ประเด็น ประสิทธิผล 2.5 ประเด็น ประสิทธิภาพ ( คำแนะนำการนำมาตรฐานการควบคุมภายในไปใช้ในเชิงปฏิบัติของ คตง. หน้า 26 )
[ ใช้แบบฟอร์ม ภาคผนวก ค. และ ง. เล่ม 2 ] 2.1 ประเด็น ความเพียงพอของการควบคุมภายใน โครงสร้างรูปแบบที่กำหนดขึ้น เพียงพอ และครอบคลุม เรื่องที่สำคัญ รวมถึงมีองค์ประกอบของการควบคุมภายใน ทั้ง 5 องค์ประกอบ หรือไม่ อยู่ในเกณฑ์น่าพอใจ หรือไม่ [ ใช้แบบฟอร์ม ภาคผนวก ค. และ ง. เล่ม 2 ] แบบสอบถามการควบคุม แบบประเมินองค์ประกอบ 2.2 ประเด็น การนำระบบควบคุมภายในเข้าใช้ การควบคุมภายใน กำหนดใช้โดยผู้บริหารอย่างเป็นทางการ หรือ ถือปฏิบัติตามระเบียบกลางของทางราชการ
2.3 ประเด็น การถือปฏิบัติจริง 1 การควบคุมที่มีอยู่ มีการปฏิบัติจริง หรือไม่ 2 สามารถลดความเสี่ยงตามที่ระบุ หรือไม่ 3 กรณีไม่ได้ปฏิบัติจริง มีวิธีอื่นทดแทน หรือไม่ 2.4 ประเด็น ประสิทธิผล ระบุการควบคุมภายใน ที่ ถือปฏิบัติจริง ได้ปฏิบัติหน้าที่ ตามที่กำหนดไว้และ ได้รับผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ หรือไม่ 2.5 ประเด็น ประสิทธิภาพ ผลประโยชน์ที่ได้รับ จากการมีระบบการควบคุม คุ้มกับต้นทุนหรือค่าใช้จ่าย หรือไม่
3. การพิจารณากลั่นกรองคำตอบจากการประเมินผล 3. การพิจารณากลั่นกรองคำตอบจากการประเมินผล การประเมินผลการดำเนินงาน ทำได้หลายวิธี ผสมผสานกันไป ตามข้อแนะนำมี 3 วิธี คือ 1 ตรวจสอบ เอกสารหลักฐาน 2 สังเกตุการณ์การ ปฏิบัติงาน 3 สัมภาษณ์ ผู้เกี่ยวข้อง คำตอบที่สอดคล้องกัน จะเป็นคำตอบที่มีการปฏิบัติจริง
4. ขอบเขตในการประเมินผลแต่ละครั้ง 4. ขอบเขตในการประเมินผลแต่ละครั้ง การกำหนดขอบเขตการประเมิน อาจแยกเป็น 4 ประเภท คือ 4.1 ประเมินประสิทธิผลของแต่ละองค์ประกอบ 4.2 ประเมินตามวัตถุประสงค์ของการควบคุมแต่ละด้าน 4.3 การประเมินกิจกรรมควบคุมเฉพาะด้าน 4.4 การประเมินโดยรวมของหน่วยงาน
4.1 ประเมินประสิทธิผล ของแต่ละองค์ประกอบ 1 สภาพแวดล้อม 2 การประเมินความเสี่ยง 3 กิจกรรมควบคุม 4 สารสนเทศ และการสื่อสาร 5 การติดตามประเมินผล 4.2 ประเมินตามวัตถุประสงค์ของการควบคุมแต่ละด้าน 1 ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของการปฏิบัติงาน 2 ความเชื่อถือได้ของรายงานทางการเงิน 3 การปฏิบัติตามกฎระเบียบ
4.3 การประเมินกิจกรรมควบคุมเฉพาะด้าน เป็นการประเมิน เฉพาะกิจกรรม ขบวนการหรือ โครงการ เช่น ด้านจัดซื้อจัดจ้าง การรับจ่ายเงิน การเรียนการสอน เป็นต้น 4.4 การประเมินโดยรวมของหน่วยงาน เป็นการประเมินภาพรวม
ข้อสังเกตุ 1 ในการกำหนดขอบเขตการประเมิน แต่ละครั้ง พิจารณา ตามความจำเป็น และ ความเหมาะสม 2 การประเมินเฉพาะด้าน จะต้องนำองค์ประกอบการควบคุม ทั้ง 5 มาพิจารณาด้วย 3 การประเมินการควบคุมฯ จะรวดเร็วขึ้น โดยใช้แบบสอบถาม ภาคผนวก ข เล่ม 1 ( ขณะนี้ควรใช้ ภาคผนวก ค และ ง เล่ม 2 )
จบการบรรยาย