Chemical Properties of Grain

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Department of Chemistry Mahidol wittayanusorn School
Advertisements

อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
Cellular Respiration 18,25 ก.ย. 56
ชีวเคมี I (Biochemistry I)
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน น้ำมันพืชและไขมันสัตว์
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน ข้าวและผลิตภัณฑ์จากข้าว
สารกระตุ้นสมรรถภาพการผลิต
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากพืช
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากพืช
สื่อการสอน เรื่องอาหารหลัก 5 หมู่ นายปราโมทย์ จินดางาม
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
น.ส.นูรวิลฎาณ รอเซะ รหัสนิสิต
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
บทที่ 1 แหล่งพลังงานไฟฟ้า.
การเสื่อมเสียของอาหาร
การลำเลียงผ่านเมมเบรน
Protein.
ปัญหาจากสภาพแวดล้อม 1. ประชากรล้น 2. ภาวะมลพิษ - ของเสียจากธรรมชาติ
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
ไขมัน (Lipids or Fat) ประโยชน์ :  ธาตุที่เป็นส่วนประกอบ :- C H O
Mr.POP (Sarote Boonseng) Mahidol Wittayanusorn School
Chemical Properties of Grain
Structural, Physical and Chemical properties of Grains
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
การวิเคราะห์อาหารสัตว์
Chromosome Q : ยีนกับโครโมโซมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
ความอุดมสมบูรณ์ของดินกับการเจริญเติบโตของพืช
Part II - พลังงานจากสารอาหาร
ความต้องการแร่ธาตุของโคนม
รองศาสตราจารย์ ดร. วิศิษฐิพร สุขสมบัติ
whey เวย์ : casein เคซีน
ชาเขียว สารสกัดจากใบชา
บทปฏิบัติการที่ 5 PLANT TISSUE ANALYSIS.
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
นักโภชนาการชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 6
นางสาวนัทธมน สกุลรุ่งโรจน์วุฒิ รหัสนิสิต : กลุ่ม : 2115
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
ข้าวกล้องงอก ข้าวกล้องหอมมะลิงอก ข้าวกล้องข้าวเหนียวดำ
อาหารเพื่อผิวสวย โดย ฉัตรฤทัย บัวสุข
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
อาหารและสารอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งที่รับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่เป็นโทษต่อร่างกายและมีประโยชน์ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารจะเรียกว่า “สารอาหาร”
ประโยชน์ของผลไม้ไทย.
กรดไขมัน กรดไขมันอาจมีอยู่เป็น องค์ประกอบของลิพิดต่างๆ หรืออยู่ในรูปอิสระ โดยทั่วไปกรดไขมันจาก ธรรมชาติ มีแกนโมเลกุลเป็น คาร์บอน จำนวนเป็นคู่ เรียง.
ภาคต้น 2557 เรื่อง Lipids (ตอนที่ 1)
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
เรื่อง พืช จัดทำโดย ด. ช. วณัฐกานต์ ไชยสิทธิ์ เลขที่ 14 ชั้น ม
กำมะถัน (Sulfur).
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
สารอาหารที่จุลินทรีย์ผลิตแอลกอฮอล์ต้องการ
สำนักงานเกษตรอำเภอละอุ่น
อาหารต้านมะเร็ง เพื่อการป้องกัน อาหารต้านมะเร็ง 5 ประการ
วุ้นมะพร้าว หรือ วุ้นสวรรค์
ปฏิบัติการเรื่องการแช่แข็ง
ความกระด้างของน้ำ (water Hardness)
19 Nov 2014 Metabolic Integration (เมแทบอลิซึมผสมผสาน)
ชั่วโมงที่ 34–35 ไขมันและน้ำมัน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Chemical Properties of Grain

Chemical Properties of Grain วัตถุประสงค์ของการศึกษา เป็นข้อมูลในการปฏิบัติการเก็บรักษา การปฏิบัติระหว่างการเก็บรักษา และอื่น ๆ การนำไปใช้ประโยชน์ เมล็ดที่เก็บสะสมอาหารแตกต่างกันจะเก็บรักษาได้นานแตกต่างกัน

องค์ประกอบทางเคมี 1. CHO (Carbohydrate) 6. Tannin 2. Protein 7.  Plant growth regulator 8.  Mineral 9.  Etc. 1.  CHO (Carbohydrate) 2.       Protein 3.       Lipids 4.       Vitamin 5.       Pigment

องค์ประกอบทางเคมีของเมล็ดถั่วเขียวและแป้งถั่วเขียว (คิดเป็นร้อยละของน้ำหนักแห้ง ) สารอาหาร เมล็ดถั่วเขียว แป้งถั่วเขียว โปรตีน 25.98 25.40 ไขมัน 1.30 2.52 เถ้า 3.80 3.16 เยื่อใย 4.79 1.01 คาร์โบไฮเดรต 64.12 58.77

Lipids

แหล่งอาหารสะสม ในพืชตระกูลถั่ว พืชน้ำมัน Lipids เป็น สปก. อินทรีย์ที่ไม่ละลายน้ำ ในเมล็ดพืช จะอยู่ในรูปของ Triglyceride หน้าที่ แหล่งอาหารสะสม ในพืชตระกูลถั่ว พืชน้ำมัน 2. องค์ประกอบ ของ cell membrane 3. สปก. ของวิตามินบางชนิด และสารตั้งต้นของสารหลายชนิด ไขมัน ไขมันเป็นกลุ่มของสารประกอบที่หลากหลาย แต่สารประกอบเหล่านี้มีลักษณะหนึ่งที่เหมือนกันคือละลายได้ในสารละลายอินทรีย์ เช่น petroleum ether สารประกอบกลุ่มนี้ได้แก่ sterols phospholipids ไขมันในเมล็ดส่วนใหญ่เป็น neutral fat ซึ่งเป็น ester ของglycerrol และ fatty acid

lipids Glycerol + Fatty acids Fatty acid Lipids

Lipids Glycerol + Fatty acids Saturated fatty acid Unsaturated fatty acid

กรดไขมัน (Fatty acids) เป็น สปก. ของ Lipid หลายชนิด เป็นโซ่ยาวของกรดอินทรีย์ที่มีจำนวน C 4-24 อะตอม และปลายของสายข้างหนึ่งเป็นหมู่ COOH (carboxyl) ไม่ละลายน้ำ ในธรรมชาติมี C เป็นเลขคู่ มีทั้งชนิดที่อิ่มตัว และ ไม่อิ่มตัว อาจมีพันธะคู่ 1 คู่ หรือมากกว่า

กรดไขมัน (Fatty acids) แบ่งออกเป็น 2 ชนิด Saturated fatty acid 2. Unsaturated fatty acid ในเมล็ดส่วนใหญ่ (70-80%) เป็น unsaturated fatty acid

แบ่งออกเป็น 6 ประเภท (ตามโครงสร้าง) Lipids แบ่งออกเป็น 6 ประเภท (ตามโครงสร้าง) 1. ไขมันเป็นกลาง หรือ triglyceride 2. phospholipid 3. sphingolipid 4. glycolipid 5. terpene, carotenoid, steroid 6. ขี้ผึ้ง

Chemical properties of grain Lipids แบ่งตามหน้าที่ 1 storage lipids อยู่ในรูป Oil bodies Spherosome, oleosome พบในส่วนของ bran, embryo, cotyledon 2 structural lipids Cell membrane นวล (Wax) Chemical properties of grain

Structural lipids 1. เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell membran) 2. นวล ผิวของเมล็ดพืชอาหาร และมักอยู่รวมกับสารเคมีจำพวก cuticle และสารอินทรีย์อื่น ๆ

การเสื่อมสภาพ ของไขมันในเมล็ด 1. กระบวนการ Hydrolysis เช่น lipase ที่มีอยู่ในเมล็ด 2. เกิดจากปฏิกิริยา oxidation จากเอนไซม์ จาก lipoxygenase และอนุมูลอิสระ 3. เกิดจากปฏิกิริยา autooxidation ก๊าซออกซิเจน ในอากาศ ทำให้เกิดการกลิ่นหืน ในกรดไขมัน เช่น Oleic acid, linoleic aicd และ linolenic acid

คำถาม 1. เมล็ดพืชอาหาร ที่มีองค์ประกอบของไขมันมากที่สุด คือ อะไร 2. เมล็ดพืชถั่วเหลืองมีไขมันเป็นองค์ประกอบ กี่ เปอร์เซ็นต์ 3. ไขมันสะสมอยู่ส่วนไหนของเมล็ดข้าว 4. ไขมันสะสมอยู่ในเมล็ดพืชอาหารในรูปใด และมีองค์ประกอบทางเคมีอย่างไร 5. Structural lipid พบอยู่ในส่วนไหนของเมล็ดพืชอาหาร 6. การเสื่อมสภาพของไขมันเกิดขึ้นในเมล็ดพืชได้อย่างไร

ในธัญพืช พบในส่วน embryo และ bran (Aleurone layer) lipids ในธัญพืช พบในส่วน embryo และ bran (Aleurone layer)

plamitic (16 : 0) ประมาณ 10% stearic (18 : 0) ประมาณ 5% oleic (18 : 1) ประมาณ 23% linoleic (18 : 2) ประมาณ 52% linolenic (18 : 3) ประมาณ 8%

plamitic (16 : 0) ประมาณ 10% stearic (18 : 0) ประมาณ 5% oleic (18 : 1) ประมาณ 23% linoleic (18 : 2) ประมาณ 52% linolenic (18 : 3) ประมาณ 8%

วิตามินหรือเกลือแร่ มิลลิกรัม / 100กรัม ไวตามิน วิตามิน เอ 70-150 วิตามิน บี 1 0.52-0.66 วิตามินบี 2 0.29-0.22 ไนอาซิน 2.4-3.1 วิตามินซี 0-10 โพแทสเซียม 850-1,450 โซเดียม 30-170 แมกนีเซียม 65-125 ฟอสฟอรัส 280-580 แคลเซียม 80-330