33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 9

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลักคิด หลักการ และการปฏิบัติงาน ให้ประสบผลสำเร็จ
Advertisements

ด.ญ.กชกร โชคเฉลิมวงศ์ เลขที่ 15 ป.4/3
ส่งการบ้านในระบบ E-laering
เศรษฐกิจ พอเพียง.
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
นางกาญจนา แย้มลักษณะเลิศ
ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.สมหวัง พิธิยานุวัฒน์
เศรษฐกิจพอเพียง เงื่อนไขการตัดสินใจ แนวทางปฏิบัติ หลักพิจารณา
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
เศรษฐกิจพอเพียง.
เศรษฐกิจพอเพียง M2A จัดทำโดย 1.ด.ช.สาโรจน์ อินทรไชย เลขที่ 16
เศรษฐกิจพอเพียง.
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1

เดินตามพ่อ อยู่อย่างพอเพียง หน้าหลัก ออกโปรแกรม.
โครงการค่ายเรียนรู้คุณธรรม นำชีวิตพอเพียง ปี 2550
วิธีการสหกรณ์ อุดมการณ์ หลักการ นายบรรทูรย์ ราชิวงค์
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสิงห์บุรี
การพัฒนานวัตกรรมแนวปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
ปัญหาความสัมพันธ์ ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน ผู้สอน อ.ดร.อิศรัฏฐ์ รินไธสง
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
เศรษฐกิจพอเพียง ด.ญ.ฐิติพร เลาหสูต.
เศรษฐกิจพอเพียง ด.ญ.กิตติมา สุภโรจนีย์ ป.4/6
ด.ช.ณัฐนันท์ขาววิเศษ เลขที่1ป4/6
จัดทำโดย ด.ญ.ดวงเดือน รักนุ้ย ชั้น ป.4/2 เลขที่31
เด็กชายคณนาถ ศรีรัตนสุภานนท์
โดยเด็กชายทรงธรรม รูปสวยดี
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บรรยายโดย วิโชติ จงรุ่งโรจน์ สำนักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคใต้
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
เมนูหลัก เนื้อหา อาจารย์ที่ปรึกษา ประวัติผู้จัดทำ.
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลางโดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัฒน์
T O GIS online.
KM ประจำเดือนตุลาคม 2550 สวัสดีค่ะ...พบกับข้อมูลข่าวสาร KM ของกองการเจ้าหน้าที่ ได้ที่นี่กันเป็นประจำ นะคะ ... และสำหรับการต้อนรับปีงบประมาณใหม่ ปี 2551.
เกษตรทฤษฎีใหม่.
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
เศรษฐกิจพอเพียง Sufficiency Economy.
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
สหเวชศาสตร์(กายภาพบำบัด)
ตามแนวพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง หลวงในรักเรา เรารักในหลวง
การส่งเสริมครอบครัวแข็งแรงเพื่อเป็นฐานของสังคมตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปี 2557.
ความหมายและความสำคัญเกษตรทฤษฎีใหม่
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่ชี้แนวทางการดำรงชีวิต ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระ ราชดำรัสแก่ชาวไทยนับตั้งแต่ปี พ. ศ เป็นต้นมา.
คุณธรรมนักปกครอง กับค่านิยมหลักของคนไทย นายประดิษฐ์ ยมานันท์
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
เศรษฐกิจพอเพียง โดย ด.ช.พีรดนย์ ศรีสอน.
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
แนวคิดและทิศทางการพัฒนาประเทศ
จัดทำโดย ด.ช. ดิเรกรัตน์ ด่านลัมจาก เลขที่3
จะสำเร็จได้ด้วย ความพอดีของตน
GO!!.
เศรษฐกิจพอเพียง.
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
“ชีวิตมีคุณค่า พึ่งพาเศรษฐกิจพอเพียง”
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 9 แนวคิด ทฤษฎี หลักการรัฐประศาสนศาสตร์ตะวันออก รศ.ดร.เทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 1 1

แนวคิด ทฤษฎี หลักการรัฐประศาสนศาสตร์ด้านโครงสร้างของประเทศทางตะวันออก ส่วนใหญ่รวมศูนย์อำนาจการบริหาร (Centralization) เนื่องจาก ปัญหาคุณภาพ บุคลากร ความต้องการควบคุม การขาดความ วางใจ ธรรมเนียมปฏิบัติ รูปแบบการบริหารราชการของประเทศทางตะวันออก - ข้าราชการมีความยืดหยุ่นและคล่องตัวในหน้าที่ และบทบาท - การตัดสินใจมักอาศัยวิจารณญาณ มากกว่าที่จะ ยึดกฎระเบียบอย่างเคร่งครัด - ข้อดี ทำให้เกิดความรวดเร็ว - ข้อเสีย ทำให้เกิดการทุจริตได้ง่าย (Keyne)

แนวคิด ทฤษฎี หลักการรัฐประศาสนศาสตร์ ด้านกระบวนการของประเทศทางตะวันออก เน้นความยืดหยุ่น อ่อนตัว สามารถใช้ ประโยชน์จากธรรมชาติ> เน้นความเป็น ทางการหรือกฎระเบียบ Flying Geese Theory Technical-Know-Who > Technical- Know-How ผู้นำลักษณะเจ้าภาพ เน้นการประสาน สัมพันธ์ > ผู้นำลักษณะแบบผู้จัดการ

พุทธศาสนากับระบบการบริหาร

แนวคิด ทฤษฎี หลักการรัฐประศาสนศาสตร์ด้านบุคคลของประเทศทางตะวันออก ให้ความสำคัญต่อระบบคุณธรรม (ขงจื๊อ) ปัญหาสำคัญของการบริหารราชการด้านบุคคลของประเทศ ตะวันออก - ข้าราชการมีอำนาจและผลประโยชน์ทางการเมือง - สร้างสัมพันธ์ทางการเมืองเพื่อประโยชน์ส่วนตน - มีแรงจูงใจที่จะรักษาประโยชน์ของกลุ่มของตน ใช้หลักศาสนา - อิทธิบาท 4 ได้แก่ ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา - หลักการตามแนวพละ 5 ได้แก่ ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปัญญา - แนวคิดของอิสมาอีลลุตฟี จะปะกียา เห็นว่า การควบคุม และพัฒนาพฤติกรรมการทำงานของบุคคลทีได้ผล จำเป็นต้องใช้หลักธรรมที่ชาวตะวันออกนับถือ

การใช้ ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปัญญา ในการทำงาน การใช้ ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปัญญา ในการทำงาน

การนำแนวคิด ทฤษฎี หลักการรัฐประศาสนศาสตร์ด้านบุคคลของประเทศทางตะวันออก ไปใช้ให้ประสบผลสำเร็จ สร้างความเป็นเอกภาพสู่เป้าหมาย มีระบบจูงใจ เป็นรูปธรรม เน้นสร้างความศรัทธา ยึดถือคำสอน ทางศาสนา องค์กรภาครัฐเป็นที่พึ่งพิงของประชาชนในทุกมิติ ของการพัฒนา เน้นประชาชนผูกพันกับรัฐบาล จูงใจให้บุคลากรเกิดความเพียร ฝึกบุคลากรให้มีสมาธิการทำงาน สร้างปัญญาแก่บุคลากร เช่น ไคเซ็น, Q.C. ฝึกให้บุคลากรมีสติทุกขั้นตอน มีการวินิจฉัยปัญหา (diagnosis) ทุกระยะ สร้างจุดเตือน จุดวัดประสิทธิภาพ จุดควบคุม

แนวคิด ทฤษฎี หลักการรัฐประศาสนศาสตร์ ด้านชุมชนและประชาชนของประเทศทางตะวันออก แนวคิดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมของซุนวู : หลักฟ้าดิน มหาตมะคานธี : คำตอบอยู่ที่หมู่บ้าน Ouchi : การบริหารที่เหมาะกับสังคมและวัฒนธรรม อิสมาอีลลุตฟี จะปะกียา : การแก้ปัญหาชุมชนจะต้องเริ่มจากการปรับเปลี่ยน ทัศนคติ ความรู้ความเข้าใจในวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของ คนในพื้นที่อย่างถูกต้อง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว : 1. ทฤษฎีใหม่ เกษตรพอเพียง 30 -60 –10 (แหล่งน้ำ : เพาะปลูก : อยู่อาศัย) 2. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่ชี้แนวทางการ ดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชน ชุมชนในทุกระดับ รวมถึงระดับรัฐบาลในการพัฒนาและบริหารประเทศ ให้ ดำเนินไปในทางสายกลาง

กระแสพระราชดำรัส เริ่มต้นปี พ.ศ. 2517 กระแสพระราชดำรัส เริ่มต้นปี พ.ศ. 2517

กระแสพระราชดำรัส ปี พ.ศ. 2540 กระแสพระราชดำรัส ปี พ.ศ. 2540 ในวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2540 พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงมี พระราชดำรัสว่า “การจะเป็นเสือนั้นมันไม่ สำคัญ สำคัญอยู่ที่เราพออยู่ พอกิน และมีเศรษฐกิจการ เป็นอยู่แบบพอมีพอกิน แบบ พอมีพอกิน หมายความว่า อุ้ม ชูตัวเองได้ ให้มีพอเพียงกับ ตัวเอง”

ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง เศรษฐกิจที่สามารถอุ้มชูตัวเองได้ ให้มี ความพอเพียงกับตัวเอง (Self Sufficiency) อยู่ได้ โดยไม่เดือดร้อน โดยต้องสร้างพื้นฐานเศรษฐกิจ ของตนเองให้ดีเสียก่อน คือ ต้องให้มีความพอกิน พอใช้ ไม่มุ่งหวังแต่จะทุ่มเทความเจริญยกเศรษฐกิจ ให้รวดเร็วแต่เพียงอย่างเดียว เพราะผู้ที่มีอาชีพและ ฐานะพอ เพียงพอที่จะพึ่งตนเองได้ ย่อมจะสร้าง ความเจริญก้าวหน้าและฐานะทางเศรษฐกิจที่สูงขึ้น ไปตามลำดับต่อไปได้ ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ, เศรษฐกิจพอเพียง (กรกฎาคม 2548)

การนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ ในระดับประเทศ คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง สำนักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เผยแพร่ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบด้วย"3 ห่วง 3 เงื่อนไข" 3 ห่วง ประกอบไปด้วย 1. หลักความพอประมาณ 2. หลักความมีเหตุผล 3. หลักการมีภูมิคุ้มกัน 3 เงื่อนไข ประกอบไปด้วย 1. ความรอบรู้ 2. คุณธรรม 3. ความเพียร ที่มา : แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550-2554), หน้า 34.

3 หลัก 3 เงื่อนไขของ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 1. หลักความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับ พอประมาณ 2. หลักความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผลโดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจน คำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำนั้น ๆ อย่างรอบคอบ 3. หลักการมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและ การเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคำนึงถึงความเป็นไปได้ของ สถานการณ์ ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในอนาคตทั้งใกล้และไกล 1. เงื่อนไขความรอบรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้ในตัวคน ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการ ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน มีความรอบคอบที่จะนำความรู้เหล่านั้นมา พิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ 2. เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต 3. เงื่อนไขความเพียร จะต้องมีความอดทน ความขยันหมั่นเพียร ใช้สติปัญญาในการ ดำเนินชีวิต  

1. ให้ความสำคัญต่อชุมชุนเข้มแข็ง (แนวคิดชุมชนาธิปไตย - Localization) สรุปจุดเน้น แนวคิด ทฤษฎี หลักการรัฐประศาสนศาสตร์ ด้านชุมชนและประชาชนของประเทศทางตะวันออก 1. ให้ความสำคัญต่อชุมชุนเข้มแข็ง (แนวคิดชุมชนาธิปไตย - Localization) 2. หลักความเป็นจริงของสังคม 3. สอดคล้องกับวิถีชีวิต ภูมิปัญญาท้องถิ่น เนื่องจากตะวันออกเน้นความสัมพันธ์กับ ธรรมชาติ 4. สร้างจิตวิญญาณและความดีงาม เนื่องจาก ตะวันออกเน้นยึดถือจิตนิยมสูง

แนวคิด ทฤษฎี หลักการรัฐประศาสนศาสตร์ ด้านชุมชนและประชาชนของประเทศทางตะวันออก กับการปรับตัวในยุคโลกาภิวัฒน์ จุดอ่อนสำคัญของรัฐประศาสนศาสตร์ ตะวันออก คือ การไม่สามารถสร้างและพัฒนา ทฤษฎีที่เหมาะสมกับความจริงของประเทศ 1. องค์การภาครัฐจะต้องทำความเข้าใจ สถานการณ์สภาพแวดล้อมให้ชัดเจน มีมุมมองที่กว้าง เน้นการหันมองออกจากข้าง นอกเข้ามาข้างใน (outside-in) 2. เน้นการสร้างทฤษฎีที่สอดคล้องกับสังคมของ ตนเอง มากกว่าที่จะลอกเลียบแบบมา