Graphical Methods for Describing Data

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Analyze → Compare Means → Paired-Sample T test…
Advertisements

การใช้โปรแกรม SPSS ในการตรวจสอบการแจกแจงของข้อมูล
การวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบหนึ่งทาง
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ค่ามัธยฐาน จัดทำโดย อ.เทวี บัวแย้ม.
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
บทที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงคุณภาพ
ค่าแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง ค่าการกระจาย ค่ามาตรฐาน
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
안녕하세요. ( อัน-นยอง-ฮา-เซ-โย )
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
การวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา
สถิติพื้นฐานที่มีโอกาสนำไปใช้บ่อย
Sampling Distribution
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
(Statistical Package for the Social Sciences : SPSS)
เทคนิคการประเมินผลการเรียนการสอน (การให้ระดับคะแนน:เกรด)
สถิติและวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
สถิติ.
เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ศุกรี อยู่สุข
บทที่ 6 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์
การประมาณค่าทางสถิติ
2 การเก็บรวบรวมข้อมูล Data Collection.
แนวคิด พื้นฐาน ทางสถิติ The Basic Idea of Statistics.
มาตรฐานการวัด คุณภาพตัวชี้วัด และ สถิติ
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
การตรวจสอบข้อมูลทางอุทกวิทยา
การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
Menu Analyze > Correlate
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การตัดสินใจเบื้องต้น : สถิติเบื้องต้น (Introduction to statistics)
สถิติ Statistics โดย น.ท.อนุรักษ์ โชติดิลก
สถิติในการวัดและประเมินผล
ค่านิยมของสำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์
การทดสอบสมมติฐาน
การศึกษาความพึงพอใจของ
รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร.
การแจกแจงปกติ ครูสหรัฐ สีมานนท์.
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
สถิติเบื้องต้นสำหรับงานระบาดวิทยา Statistics for Epidemiology
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
การแจกแจงปกติ.
ทบทวน ระดับของข้อมูลจากการวัด แบ่งได้ 4 ประเภท ดังนี้
วิจัย (Research) คือ อะไร
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
สถิติสำหรับการวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ท้ายเรือคำ
สถิติธุรกิจ BUSINESS STATISTICS.
เทคนิคในการวัดความเสี่ยง
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
(Descriptive Statistics)
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สอนโดย ครูปพิชญา คนยืน.
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การนำเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
โรงเรียนวังไกลกังวล หัวหิน
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
Basic Statistics พีระพงษ์ แพงไพรี.
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สอนโดย ครูปพิชญา คนยืน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Graphical Methods for Describing Data 3 การนำเสนอข้อมูล Graphical Methods for Describing Data

การนำเสนอข้อมูล การจัดนำเสนอข้อมูลเป็นตาราง การจัดนำเสนอข้อมูลเป็นกราฟแท่ง การจัดนำเสนอข้อมูลเป็นกราฟเส้น การจัดนำเสนอข้อมูลเป็นกราฟวงกลม การจัดนำเสนอข้อมูลเป็นกราฟรูปภาพ ฮิสโทแกรม (Histogram) รูปหลายเหลี่ยมของความถี่ (Frequency Polygon) โค้งความถี่ (Frequency Curves) แผนภาพต้น-ใบ (Stem-and-Leaf Plot หรือ Stem Plot)

การจัดนำเสนอข้อมูลเป็นตาราง เงินเดือน จำนวน 6500 - 6999 10 7000 - 7499 15 7500 - 7999 20 8000 - 8499 8500 - 8999 9000 - 9499 3

การจัดนำเสนอข้อมูลเป็นกราฟแท่ง http://www.ppdonline.org/images/hq/statistics/stats_95-05_bar.gif

การจัดนำเสนอข้อมูลเป็นกราฟแท่ง http://www.hreoc.gov.au/social_justice/statistics/Stats29Mar00.jpg

การจัดนำเสนอข้อมูลเป็นกราฟเส้น http://www.journaids.org/img/factsheets/statistics/ja_statistics_deathbyage.jpg

การจัดนำเสนอข้อมูลเป็นกราฟวงกลม http://www.ewea.org/fileadmin/ewea_documents/documents/publications/statistics/global_stats_cumulative_04.gif

การจัดนำเสนอข้อมูลเป็นกราฟวงกลม http://www-g.eng.cam.ac.uk/impee/topics/RecyclePlastics/files/Recycling%20Statistics.png

ฮิสโทแกรม (Histogram)

รูปหลายเหลี่ยมของความถี่ (Frequency Polygon)

โค้งความถี่ (Frequency Curves)

แผนภาพต้น-ใบ (Stem-and-Leaf Plot หรือ Stem Plot) ต้น ใบ 5 5 5 7 2 5 6 5 2 6 8 3 2 1 7 2 3 1 9 8 6 5 4 2 9 7 5 9 2 2 1 10 1 0 2

การวิเคราะห์ข้อมูล

การวิเคราะห์ข้อมูล การแจกแจงความถี่ (Frequency) การหาเปอร์เซ็นต์หรือร้อยละ การหาสัดส่วน (Proportion) การหาอัตราส่วน (Ratio) การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง การหาลักษณะการกระจาย ของข้อมูล การประมาณค่า (Estimation) การทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis Test) การหาสหสัมพันธ์ (Correlation) การพยากรณ์ (Forecasting)

การวิเคราะห์ข้อมูล การวัดค่ากลางของข้อมูล ค่าวัดแนวโน้มสู่ส่วนกลาง คือ ค่ากลางที่เป็นตัวแทนของข้อมูล ที่นิยมใช้มีอยู่ 3 ค่า ได้แก่ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐานและฐานนิยม

การวิเคราะห์ข้อมูล ค่าเฉลี่ยเลขคณิต คือค่าของผลรวมของค่าสังเกตของข้อมูลทั้งหมด หารด้วยจำนวนของข้อมูลทั้งหมด เรียกสั้น ๆ ว่าค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ยเลขคณิตเหมาะที่จะนำมาเป็นค่ากลางของข้อมูลเมื่อข้อมูลนั้นไม่มีค่าใดค่าหนึ่งสูงหรือต่ำผิดปกติ

การวิเคราะห์ข้อมูล ผลการสอบของนักเรียน 10 คนเป็นดังนี้ 15, 20, 15, 9, 18, 14, 12, 15, 7, 6 จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต

การวิเคราะห์ข้อมูล มัธยฐาน คือค่าสังเกตที่เกิดซ้ำมากที่สุด หรือมีความถี่สูงสุด ถ้าข้อมูลไม่ซ้ำกันเลยถือว่าไม่มีฐานนิยม ข้อมูลชุดหนึ่งอาจมีฐานนิยมมากกว่าหนึ่งค่าก็ได้ ในกรณีที่ข้อมูลใดมีฐานนิยมมากกว่า 2 ค่า อาจถือได้ว่าข้อมูลชุดนั้นไม่มีฐานนิยมเลยก็ได้

การวิเคราะห์ข้อมูล ผลการสอบของนักเรียน 10 คนเป็นดังนี้ 15, 20, 15, 9, 18, 14, 12, 15, 7, 6 จงหาค่ามัธยฐาน

การวิเคราะห์ข้อมูล ฐานนิยม คือ ค่าที่อยู่แหน่งกึ่งกลางของข้อมูลทั้งชุดเมื่อมีการจัดเรียงคะแนนตามความมากน้อย แบ่งข้อมูลที่เรียงลำดับแล้วออกเป็น 2 ส่วนเท่า ๆ กัน ใช้กับข้อมูลเชิงปริมาณเท่านั้น เหมาะที่จะนำมาใช้เป็นค่ากลาง เมื่อข้อมูลนั้นมีค่าหนึ่งค่าใดสูงหรือต่ำผิดปกติ

การวิเคราะห์ข้อมูล ผลการสอบของนักเรียน 10 คนเป็นดังนี้ 15, 20, 15, 9, 18, 14, 12, 15, 7, 6 จงหาค่าฐานนิยม

การวิเคราะห์ข้อมูล การใช้ ค่าเฉลี่ยใช้กับขอมูลตัวเลข แจกแจงสมมาตร ค่าเฉลี่ยใช้กับขอมูลตัวเลข แจกแจงสมมาตร มัธยฐานใช้กับข้อมูลจัดอันดับได้ มีการแจกแจงเบ้ ฐานนิยมใช้กับข้อมูลเชิงคุณภาพ

การวิเคราะห์ข้อมูล การวัดการกระจายของข้อมูล การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion) เป็นสถิติประเภทหนึ่งที่คำนวณออกมาเป็นตัวเลข เพื่อใช้อธิบายลักษณะการกระจายของข้อมูล

การวิเคราะห์ข้อมูล พิสัย (Range) เป็นค่าที่ใช้วัดการกระจายของข้อมูล โดยการหาความแตกต่างระหว่างค่าสูงสุดกับค่าต่ำสุดของข้อมูลชุดใดชุดหนึ่ง

การวิเคราะห์ข้อมูล ผลการสอบของนักเรียน 10 คนเป็นดังนี้ 15, 20, 15, 9, 18, 14, 12, 15, 7, 6 จงหาพิสัยของคะแนน

การวิเคราะห์ข้อมูล ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) เป็นการวัดการกระจายของคะแนนรอบ ๆ ค่าเฉลี่ย (Mean) ใช้ข้อมูลทุกตัวในการคำนวณ

การวิเคราะห์ข้อมูล ผลการสอบของนักเรียน 10 คนเป็นดังนี้ 15, 20, 15, 9, 18, 14, 12, 15, 7, 6 จงหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนน

การวิเคราะห์ข้อมูล ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน มีค่าเป็นศูนย์ได้หรือไม่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน มีค่าเป็นลบได้หรือไม่

การแปลความหมายข้อมูล

การแปลความหมายข้อมูล

ส่วนเบี่งเบนมาตราฐาน การแปลความหมายข้อมูล คะแนนสอบของ ด.ช. แท่งเป็นดังนี้ วิชา คะแนนที่ได้ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่งเบนมาตราฐาน คณิตศาสตร์ 50 60 5.1 วิทยาศาสตร์ 55 1.2 สังคมศึกษา

การแปลความหมายข้อมูล

ความคลาดเคลื่อนในการใช้สถิติ

ขั้นตอนทางสถิติ การเก็บรวบรวมข้อมูล การนำเสนอข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การแปลความหมายข้อมูล

6 6 6 + 6 2 6 9 6