Computer&Technology Mahidol Wittayanusorn School

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
Advertisements

แนวคิดในการเขียนโปรแกรม
เลขฐานต่าง ๆ อ.มิ่งขวัญ กันจินะ.
Chapter 2 : Character and Fonts
DSP 6 The Fast Fourier Transform (FFT) การแปลงฟูริเยร์แบบเร็ว
เกณฑ์การให้คะแนน กลางภาค 60 คะแนน สอบกลางภาค 20 คะแนน

การแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์
การแทนค่าข้อมูล และ Primary Storage (Memory)
CS Assembly Language Programming
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
Computer Code เลขฐานสอง bit (binary digit ) 1 byte = A.
ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.
Number System[1] เลขฐาน & ASCII CODE Number System[1]
ความหมาย และวิวัฒนาการ ของ ระบบปฏิบัติก าร.
ลิมิตและความต่อเนื่อง
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
ASCII รหัสแอสกี (ASCII Code) หรือ American Standard Code for Information Interchange เป็นรหัสที่ มีการใช้แพร่หลายกันมากที่สุด เช่น ในไมโครคอมพิวเตอร์
NUMBER SYSTEM เลขฐานสิบ (Decimal Number) เลขฐานสอง (Binary Number)
Peopleware & Data บุคลากรและข้อมูล.
เรื่อง ประเภทของข้อมูล
ระบบเลข และการแทนรหัสข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
Data Link Layer.
อาจารย์ ถนอม ห่อวงศ์สกุล
เมื่อนักคณิตศาสตร์เขียน 4! เครื่องหมายตกใจ
แบบฝึกทักษะ เรื่อง กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
มาตรฐาน Protocols ที่ใช้ในสกาดา
Introduction to Digital System
ปฏิบัติการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
ทบทวนการสร้างโฟลเดอร์
ดีบักเป็นเครื่องมืออันหนึ่งที่ให้ผู้ใช้ ตรวจสอบ และแก้ไขค่าใน หน่วยความจำ โหลด เก็บ ตรวจสอบค่าในเรจิสเตอร์ และสามารถ เขียนโปรแกรมแอสเซมบลีได้อย่าง สะดวก.
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Introduction to Information and Communication Technology)
Computer Coding & Number Systems
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
การแปลงเลขฐานใดๆเป็นฐานใดๆ
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ 3 โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
เรื่องข้อมูลและสาระสนเทศ
เรื่อง คอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูล
บทที่ 10 การทำงานกับ ข้อความ (string). สตริงในภาษา PHP ASCII (American Standard Code for Information Interchange) จำนวน 8 บิต เก็บได้ 256 ตัว Unicode.
การแทนข้อมูล คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งใช้สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ในการทำงานเพื่อเก็บข้อมูล ประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ การมองเห็นข้อมูลของคอมพิวเตอร์กับการมองเห็นข้อมูลของผู้ใช้จะไม่เหมือนกัน.
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
แฟ้มข้อมูล Data Management.
บทที่ 9 การจัดการข้อมูล การตรวจสอบความผิดพลาดในการส่งข้อมูล
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
รหัสคอมพิวเตอร์.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
การแสดงผลและการรับข้อมูล (Data Output and Input)
สาระการเรียนรู้ที่ ๒ การเชื่อมประพจน์
ง31102 เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
Introduction to Digital System
ระบบเลขจำนวน ( Number System )
Chapter 1 : Introduction to Database System
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการโปรแกรมคอมพิวเตอร์
CONDITION Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka.
จัดทำโดย.... นางสาววริศรา ทาวรรณ์ เลขที่ 35 ชั้น ม.4/13
ชนิดของซอฟต์แวร์ (2).
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
เข้าสู่ วิชา การงานอาชีพ จัดทำโดย ด. ญ. สุชัญญา เขียวสมอ ม.1/14 เลขที่ 38 ด. ญ. พรรณวษา ยาวะระ ม.1/14 เลขที่ 32 นำเสนอ อาจารย์ ฐิตาพร ดวงเกตุ โรงเรียนวินิตศึกษา.
ข้อมูลและสารสนเทศ Data & Information.
บทที่ 5 ระบบเลขฐานและรหัสแทนข้อมูล
รหัสแทนข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Computer&Technology Mahidol Wittayanusorn School รหัสแทนข้อมูล Computer&Technology Mahidol Wittayanusorn School

Computer&Technology Mahidol Wittayanusorn School รหัส ASCII ASCII ย่อมาจาก American Standard Code for Information Interchange รหัสแอสกี เป็นรหัสที่นิยมใช้กันมาก จนสามมารถนับได้ว่าเป็นรหัสมาตรฐานที่ใช้ใน การสื่อสารข้อมูล ( Data Communications) ซึ่งจำเป็นต้องใช้รหัสการแทนข้อมูลเป็นระบบเดียวกัน เพื่อให้สามารถรับ - ส่งข้อมูลได้ในความหมายเดียวกัน รหัสแอสกีใช้เลขฐานสอง 8 หลักแทนข้อมูลหนึ่งตัว นั่นคือ 1 ไบต์มีความยาวเท่ากับ 8 บิต รวมทั้งมีการแบ่งรหัสออกเป็นสองส่วน คือโซนบิต (Zone bits) ซึ่งอยู่ทางด้านซ้ายมีจำนวน 4 บิตและนิวเมอริกบิต (Numeric bits)ในอีก 4 บิตที่เหลือ Computer&Technology Mahidol Wittayanusorn School

Computer&Technology Mahidol Wittayanusorn School รหัส ASCII ตารางรหัส ASCII วิธีอ่าน อ่านตาม column แล้วจึงอ่านตาม row ตัวอย่าง M = 4D16 = 010011012 w = 7716 = 011101112 i = 6916 t = 7416 Computer&Technology Mahidol Wittayanusorn School

Computer&Technology Mahidol Wittayanusorn School รหัส EBCDIC EBCDIC ย่อมาจาก Extended Binary Coded Decimal Interchange Code รหัส EBCDIC พัฒนาโดยบริษัทไอบีเอ็มใช้แทนข้อมูลที่แตกต่างกันได้ทั้งหมด 28 หรือ 256 ชนิด การเก็บข้อมูลโดยใช้รหัสเอบซีดิกจะแบ่งรหัสออกเป็นสองส่วน คือโซนบิต (Zone bits) และนิวเมอริกบิต (Numeric bits) เช่นเดียวกับ ASCII Computer&Technology Mahidol Wittayanusorn School

Computer&Technology Mahidol Wittayanusorn School รหัส UniCode เป็นรหัสแบบใหม่ล่าสุด ถูกสร้างขึ้นมาเนื่องจากรหัสขนาด 8 บิตซึ่งมีรูปแบบเพียง 256 รูปแบบ ไม่สามารถแทนภาษาเขียนแบบต่าง ๆ ในโลกได้ครบหมด โดยเฉพาะภาษาที่เป็นภาษาภาพ เช่น ภาษาจีนหรือภาษาญี่ปุ่นเพียงภาษาเดียวก็มีจำนวนรูปแบบเกินกว่า 256 ตัวแล้ว UniCode จะเป็นระบบรหัสที่เป็น 16 บิต จึงแทนตัวอักษรได้มากถึง 65,536 ตัว ซึ่งเพียงพอสำหรับตัวอักษรและสัญลักษณ์กราฟฟิกโดยทั่วไป รวมทั้งสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ต่าง ๆ ในปัจจุบันระบบ UniCode มีใช้ในระบบปฏิบัติการ Window NT ระบบปฏิบัติการ UNIX บางรุ่น รวมทั้งมีการสนับสนุนชนิดข้อมูลแบบ UniCode ในภาษา JAVA ด้วย Computer&Technology Mahidol Wittayanusorn School

Computer&Technology Mahidol Wittayanusorn School Parity bit ในระบบคอมพิวเตอร์บางระบบใช้เลขฐาน 2 จำนวน 9 บิต แทนหนึ่งอักษร บิตที่ 9 เพิ่มมานั้นเรียกว่า parity bit parity bit มีไว้สำหรับตรวจสอบความผิดพลาดจากสื่อสารหรือส่งข้อมูล ซึ่งอาจมีสาเหตุต่าง ๆ ทำให้คอมพิวเตอร์ส่งข้อมูลผิดจาก 0 เป็น 1 ก็ได้ หากต้องการตรวจสอบว่าคอมพิวเตอร์ส่งข้อมูลผิดพลาดหรือไม่ก็สามารถดูได้จากพาริตี้บิตนี้ มี 2 ระบบ Odd Parity Even Parity Computer&Technology Mahidol Wittayanusorn School

Computer&Technology Mahidol Wittayanusorn School Parity bit สมมติ ข้อมูล คือ A 01000001 ผลรวมของ bit 1 คือ 2 Even Parity Odd Parity 001000001 101000001 เติม 0 ในบิตที่ 9 เนื่องจากผลรวมของ bit 1 เป็นเลขคู่อยู่แล้ว เติม 1 ในบิตที่ 9 เนื่องจากผลรวมของ bit 1 เป็นเลขคู่ จึงต้องทำให้ผลรวมกลายเป็นเลขคี่ (Odd) Computer&Technology Mahidol Wittayanusorn School