ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ครูนารีรัตน์ พิริยะพันธุ์สกุล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
Advertisements

โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
วิธีสารแยกสารเนื้อผสม การใช้มือหยิบออก,เขี่ยออก
สมดุลเคมี.
วัฏจักรของสารในระบบนิเวศ
ตอนที่ 1 ก๊าซละลายในของเหลว
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
ทราบนิยามของ Flux และ Electric Flux Density
Conductors, dielectrics and capacitance
3. ของเหลว 3.1 สมบัติทั่วไปของของเหลว ความดันไอ จุดหลอมเหลว และ
(Colligative Properties)
การวัดค่าความดันไอ และสมการของเคลาซิอุส-กลาเปรง
1st Law of Thermodynamics
นางสาวสุวรรณี อินทรีเนตร เลขที่ 26
สมบัติของสารและการจำแนก
ความสัมพันธ์ระหว่าง DG กับ อุณหภูมิ
ชุดทดสอบ ปรอทแอมโมเนีย ในเครื่องสำอาง
สารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ
หินแปร (Metamorphic rocks)
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
Laboratory in Physical Chemistry II
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
การทดลองที่ 1 การหาความดันไอและความร้อนแฝง ของการเกิดไอของน้ำ
มวลโมเลกุลของของเหลวที่ระเหยง่าย
การทดลองที่ 5 Colligative property
ปัจจัยทีมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
กำหนดการสอน วิชาเคมี ว30221
Ultrasonic sensor.
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
โดย สมาคมการช่วยชีวิตและดับเพลิง FARA
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
Valent Bond Theory (VBT) ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
ว ความหนืด (Viscosity)
ลมและความชื้น By Arjan Ukrit Chaimongkon Demonstration School
สารละลายและค่าการละลาย (Solution and Solubility)
พลังงานภายในระบบ.
แรงลอยตัวและหลักของอาร์คีมิดีส
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
ตอนที่ 1 การเตรียมแก๊ส NO2
(Internal energy of system)
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณสารสัมพันธ์
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ (Reversible change)
ชุดทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันที่ใช้ทอด
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
สมดุลเคมี Chemical Equilibrium
เตาปิ้งย่างไฟฟ้า.
หลอดไฟฟ้า.
กระบวนการแพร่และออสโมซิส The process of diffusion and osmosis.
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Electronics for Analytical Instrument
ความร้อน สมบัติของแก๊สและทฤษฎีจลน์ หน้า 1
เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรน้ำ
ความปลอดภัยในการใช้ก๊าซ
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
การจำแนกประเภทของสาร
หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน
รหัสวิชา ภาคต้น ปีการศึกษา 2556
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
ชื่อเรื่อง วัฏจักรของน้ำ จัดทำโดย เด็กชาย โชคชัย คำมะยอม เลขที่ 37 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 เสนอ อ.อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร สารบัญ.
ว เคมีพื้นฐาน ธาตุแทรนสิชัน และสารประกอบเชิงซ้อน
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
น้ำ.
สมดุลเคมี เช่น น้ำ (ของเหลว)
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความถี่ยีน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า นายศราวุทธ แสงอุไร ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่2 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

ความตึงผิว การระเหย ความดันไอกับจุดเดือดของของเหลว Liquid properties ความตึงผิว การระเหย ความดันไอกับจุดเดือดของของเหลว ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่2 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

ความตึงผิว แรงที่ดึงโมเลกุลไว้ไม่ให้หลุดจากผิวหน้าของของเหลวเรียกว่า แรงตึงผิว ปริมาณของแรงตึงผิวขึ้นกับปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้ แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของของเหลว ถ้ามีมากของเหลวนั้นก็จะมีแรงตึงผิวมาก อุณหภูมิของของเหลว ถ้าอุณหภูมิของเหลวเพิ่มขึ้น แต่ละโมเลกุลมีพลังงานจลน์เพิ่มขึ้น แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลน้อยลง จะทำให้แรงตึงผิวน้อยลง ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่2 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

ความตึงผิว ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่2 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

การระเหย ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่2 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

การระเหย การที่โมเลกุลของเหลว หลุดจากผิวหน้าของของเหลวกลายเป็นก๊าซ เรียกว่า การระเหย ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการระเหย คือ อุณหภูมิ พื้นที่ผิว แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุล ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่2 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

ความดันไอกับจุดเดือดของของเหลว ความดันไอของของเหลวเกิดจากโมเลกุลของไอของเหลวชนผนังภาชนะ และในขณะเดียวกับที่เกิดการระเหยในภาชนะปิดนั้นจะเกิดการควบแน่นด้วยเพราะไอของเหลว ที่อยู่ติดผิวหน้าของเหลวถูกดึงดูดโดยโมเลกุลที่ยังไม่ระเหย ไอของเหลวก็จะกลับไปเป็นของเหลวตามเดิมได้ เมื่ออัตราการระเหยเท่ากับอัตราการควบแน่น ความดันไอที่วัดได้ เรียกว่า ความดันไอสมดุล (equilibium vapor pressure) เรียกสั้น ๆ ว่าความดันไอ ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่2 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

ปัจจัยที่มีผลต่อความดันไอ แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของของเหลว ถ้าสารที่มีแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลมากความดันไอจะต่ำ เพราะโอกาสที่โมเลกุลจะชนะแรงดึงดูดกลายเป็นไอนั้นยาก อุณหภูมิ ถ้าอุณหภูมิของระบบสูง ย่อมทำให้โมเลกุลของสารมีพลังงานจลน์สูงขึ้นโอกาสที่จะระเหยกลายเป็นไอมีมากขึ้นความดันไอก็จะเพิ่มขึ้น สารชนิดเดียวกันที่อุณหภูมิเท่ากันย่อมมีความดันไอเท่ากันเสมอไม่ว่าสารนั้นจะมีปริมาณมากหรือน้อยกว่ากัน นั่นคือ ความดันไอไม่ขึ้นอยู่กับปริมาตรของสาร 4. ความดันไอจะเกิดขึ้นที่ภาวะสมดุลเท่านั้น ดังนั้นต้องพิจารณาในระบบปิดเสมอ ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่2 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

ความดันไอกับจุดเดือดของของเหลว ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่2 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

การทดลองความดันไอของของเหลว http://www.chm.davidson.edu/ChemistryApplets/PhaseChanges/VaporPressure.html ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่2 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

การทดลองความดันไอของของเหลว การทดลองที่ 5.2 การเปรียบเทียบความดันไอของของเหลว ใส่เอทานอล 3 cm3 ลงในหลอดทดลองขนาดกลาง ปิดหลอดทดลองด้วยจุกยางที่มีหลอดนำก๊าซเสียบอยู่ให้ปลายหลอดนำก๊าซจุ่มอยู่ในของเหลว ปรับระดับของเหลวในหลอดทดลอง นำหลอดทดลองจากข้อ 2 แช่ในบีกเกอร์น้ำร้อนที่มีอุณหภูมิประมาณ 40oC สังเกตระดับของของเหลวในหลอดนำก๊าซตั้งแต่เริ่มต้นจนกระทั่งของเหลวมีระดับคงที่ ปรับอุณหภูมิของน้ำในบีกเกอร์ในข้อ 3 ให้ได้ประมาณ 60oC สังเกตระดับของของเหลวในหลอดนำก๊าซอีกครั้ง ทำการทดลองซ้ำตั้งแต่ ข้อ 1-4 แต่เปลี่ยนชนิดของของเหลวจากเอทานอล เป็นน้ำ ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่2 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

แหล่งอ้างอิง Martin S. Silberberg, Chemistry: The Molecular Nature of Matter and Change, McGraw-Hill Higher Education, 2004 Raymond Chang, Chemistry, Williams College, McGraw-Hill Higher Education, 2002 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่2 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร