การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Advertisements

Computer Language.
รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ตัวแปรประเภทตัวชี้ (Pointer)
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
Introduction to C Programming
ครั้งที่ 8 Function.
ปฎิบัติการที่ ห้า.
Department of Computer Business
การรับค่าและแสดงผล.
Chapter 7 ขอบเขตของตัวแปร Variable Scope.
Data Type part.III.
C Programming Lecture no. 4 กราบเรียนท่านอาจารย์ และสวัสดีเพื่อนๆ
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
การควบคุมทิศทางการทำงาน
องค์ประกอบของโปรแกรม
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
รับและแสดงผลข้อมูล.
ฟังก์ชั่น function.
ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.
ตัวแปรชุด.
การรับข้อมูลเบื้องต้นโดยใช้ฟังก์ชั่น scanf
Arrays.
บทที่ 12 Structure and union Kairoek choeychuen
บทที่ 6 ตัวแปรอาร์เรย์ (Array of Variable)
C Programming Lecture no. 6: Function.
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ ประเภทของข้อมูลที่ผ่านมาส่วนใหญ่ในตอนต้นๆจะเป็นข้อมูลเดี่ยว โดยตัวแปรหนึ่งตัวสามารถเก็บข้อมูลได้หนึ่งตัว ถ้าหากต้องการเก็บข้อมูลหลายตัวจะต้องประกาศตัวแปรหลายตัว.
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
หน่วยที่ 4: คำสั่งควบคุมโปรแกรม (Control Flow Command)
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ง30212 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
ฟังก์ชันรับข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
การรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้น
ประวัติความเป็นมาภาษาซี
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Week 2 Variables.
Computer Programming for Engineers
ความหมาย การประกาศ และการใช้
Overview of C Programming
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
Output of C.
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
1. Global variable คือ ตัวแปรที่กำหนดหรือประกาศไว้นอกฟังก์ชันใด ๆ ทุกฟังก์ชัน สามารถนำตัวแปรประเภท Global ไปใช้ได้ทุกฟังก์ชัน.
หน่วยที่ 4 โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
บทที่ 7 เงื่อนไขในภาษาซี
CONDITION Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka.
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
Programming assignments ชื่องาน (subject) : program เขียนด้วยภาษา C หรือ C++ มีทั้งหมด 7 ข้อ กำหนดส่ง 29 กรกฎาคม 2554.
Computer Programming การเขียนโปรแกรม คอมพิวเตอร์ สัปดาห์ที่ 6 คำสั่งควบคุมการทำงานแบบ เงื่อนไขและคำสั่งควบคุมการ ทำงานแบบวนซ้ำ.
Variable, Constant. Variable คือชื่อที่ตั้งขึ้นมาเพื่อจองพื้นที่ใน หน่วยความจำสำหรับ พักข้อมูล.
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
บทที่ 11 พอยเตอร์ C Programming C-Programming. จันทร์ดารา Surin Campus : มีอะไรบ้างในบทนี้  ตัวแปรพอยเตอร์ (Pointer) เป็นตัว แปรที่แปลกและแตกต่างไปจากตัว.
โครงสร้างภาษาซี C ++ structure
ภาษา C เบื้องต้น.
บทที่ 4 ตัวแปร (Variables)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า "การประกาศตัวแปร“ ส่วนใหญ่ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ มักจะมีการประกาศตัวแปร ซึ่งข้อมูลจะถูกเก็บไว้ที่ตัวแปรที่เราประกาศไว้ข้างต้น รูปแบบ ประเภทของข้อมูล ชื่อตัวแปร ; ตัวอย่าง int age;

การประกาศตัวแปร ในการประกาศตัวแปรแต่ละครั้งสามารถประกาศได้หลายตัวถ้าเป็นประเภทเดียวกัน ใช้เครื่องหมาย , คั่นได้ เช่น int num1,num2,num3; char a,b,c,d; float score,grade;

การกำหนดชื่อตัวแปร ตัวแปรแต่ละตัวจะต้องมีการกำหนดชื่อขึ้น เพื่อให้โปรแกรมนั้นสามารถเรียกใช้งานได้ถูกต้องโดยมีข้อกำหนดในการตั้งชื่อดังนี้ 1. ชื่อไม่ซ้ำกับคำสงวนและชื่อมาตรฐานที่คอมไพเลอร์รู้จัก 2. ต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษร(A-Z,a-z) หรือ _ เท่านั้น 3. ตัวต่อไปต้องเป็นตัวอักษร ตัวเลข หรือ _ 4. การตั้งชื่อต้องไม่มีช่องว่าง 5. ตัวอักษรเล็ก-ใหญ่ จะมีความหมายต่างกัน

คำสงวนในภาษาซี (มาตรฐาน) auto double int struct break else long switch case enum register typedef char extern return union const float short unsigned continue for signed void default goto sizeof volatile do if static while

การประกาศค่าคงที่ ในภาษาซี จะมีตัวแปรอีกชนิดหนึ่งที่เราเรียกว่า “ค่าคงที่” ซึ่งจะแตกต่างจากตัวแปรทั่วไป คือ ค่าคงที่ไม่สามารถเปลี่ยนค่าได้ตลอดทั้งโปรแกรม การกำหนดค่าคงที่ในภาษาซีนั้น จะมีการประกาศไว้ในที่ต่างๆดังนี้

การประกาศค่าคงที่ ค่าคงที่ (Constant) เป็นค่าในหน่วยความจำที่มีค่าคงที่ตลอดโปรแกรมเราจะกำหนดชื่อให้กับค่าคงที่ ถ้าโปรแกรมส่วนใดเรียกใช้ จะได้ข้อมูลตามที่กำหนดไว้ การประกาศค่าคงที่มี 2 รูปแบบดังนี้ รูปแบบที่ 1 ใช้ Const นำหน้า (ต้องระบุชนิดตัวแปร) const รูปแบบข้อมูล ชื่อค่าคงที่ = ค่าข้อมูล; ตัวอย่าง const int count = 100;

การประกาศค่าคงที่ รูปแบบที่ 2 ใช้ #define (ไม่ต้องระบุชนิดตัวแปร) ตัวอย่าง #define PI 3.14;

ตัวแปรภายในและตัวแปรภายนอก ลักษณะการประกาศตัวแปรจะมีอยู่ 2 รูปแบบดังนี้ 1. ตัวแปรภายใน จะถูกประกาศใช้งานเฉพาะฟังก์ชั่นนั้นๆ 2. ตัวแปรภายนอก เป็นตัวแปรสาธารณะที่ทุกๆฟังก์ชั่นสามารถเรียกใช้งานจากตัวแปรนี้ได้ โดยประกาศไว้นอกฟังก์ชั่น

ตัวอย่างประกาศตัวแปรแบบภายในและภายนอก ตัวอย่างการเรียกใช้ตัวแปรภายในและตัวแปรภายนอก #include<stdio.h> #include<conio.h> float grade; // ตัวแปรภายนอก int f() { float score; // ตัวแปรภายใน printf("score f="); scanf("%f",&score); } int main() printf("grade main="); scanf("%f",&grade); f(); getch();

ตัวอย่างการใช้งานค่าคงที่ภายใน #include<stdio.h> #include<conio.h> const int data1=50; // ทุกฟังก์ชั่นสามารถเรียกใช้งานได้ int f() { const int data=40; // ประกาศเพื่อเรียกใช้ในฟังก์ชั่น f เท่านั้น printf("data f = %d\n",data); printf("data 1 = %d\n",data1); } int main() printf("data1 main = %d\n",data1); f(); getch();

ทดสอบความเข้าใจ ทดสอบความเข้าใจ 1. เราจะตั้งชื่อตัวแปรว่า a_a ได้หรือไม่ 2. เราจะตั้งชื่อตัวแปรว่า 4you ได้หรือไม่ 3. เราจะตั้งชื่อตัวแปรว่า float ได้หรือไม่ 4. ตัวแปรภายในต่างจากตัวแปรภายนอกอย่างไร 5. ตัวอักษร- ตัวใหญ่ มีความหมายเหมือนกันหรือไม่