ดวงอาทิตย์ The Sun.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จัดทำโดย ด.ญ. ณัชชา เตชะสุขะโต ม. 2/1 เลขที่ 31 ระบบสุริยะ
Advertisements

Solar Storm พายุสุริยะ
บรรยากาศ.
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
Global Warming.
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
ดาวอังคาร (Mars).
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
การไหลเวียนของบรรยากาศและน้ำในมหาสมุทร
ภาวะโลกร้อน ด.ช เกียรติณรงค์ นันทปัญญา ม.2/2 เลขที่ 2
กลุ่ม ดาวโลก ด.ญ.กรรณิการ์ เพ็งเอี่ยม เลขที่ 11 ม.2/1
แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน
แผ่นดินไหว.
6. อย่าได้ยึดถือโดยการคาดคะเน การ คาดการณ์ตามประวัติศาสตร์ ตาม สถิติ ความน่าจะเป็น ซึ่งอาจจะผิดก็ ได้ เพราะเห็นแค่ร้อย อย่าเหมาว่าที่ ร้อยเอ็ดจะเป็นไปด้วย.
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
ยินดีต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่.
น้ำและมหาสมุทร.
เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)
สภาพท้องฟ้า หลักปฏิบัติในการตรวจอากาศ
ขนาดและคลื่นแผ่นดินไหว Magnitude and Seismogram
สัณฐานและโครงสร้างของโลก
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
กลไกการปรับสมดุลโลก แผ่นที่ 1/6 พื้นสีเข้มดูดกลืน รังสีได้ดีกว่า.
ภาวะโลกร้อน ป้องกัน แก้ปัญหา ภาวะโลกร้อน ผลกระทบ ผู้จัดทำ สาเหตุ
กาแล็กซีและเอกภพ.
กระบวนการแพร่และออสโมซิส The process of diffusion and osmosis.
บทที่ 4 พืชมีการตอบสนอง
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
กล้องโทรทรรศน์.
วิทยาศาสตร์ ว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน.
โลก (Earth).
การหักเหของแสง (Refraction)
ดวงจันทร์ (Moon).
ชั้นบรรยากาศ จัดทำโดย เด็กหญิงธรณ์ธันย์ นวชัย ชั้น ม.1/4 เลขที่ 11
เรื่องบรรยากาศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ดาวพุธ (Mercury).
ดาวศุกร์ (Venus).
ดาวพลูโต (Pluto).
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
ดาวเนปจูน (Neptune).
สิ่งแวดล้อมกับภาวะโลกร้อน จัดทำโดย นาย นารากร สลักจอง ปวช.1 กลุ่ม 2.
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
สิ่งแวดล้อมกับภาวะโลกร้อน
ดาวเสาร์ (Saturn).
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต จัดทำโดย นายก้องเกียรติ์ ดีเลิศ.
ชื่อเรื่อง ดาวเคราะห์
โครงสร้างภายในของโลก แบ่งตามคุณสมบัติทางกายภาพ
จัดทำโดย นายธนิต เหลืองดี ความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลกที่เกิดขึ้นใน ปัจจุบัน เป็นสิ่งที่คนในสังคมโลก ยังให้ความสนใจไม่มากนักและที่สำคัญ คือ ยังมีคนจำนวนมาก.
ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ สถานีอุตุนิยมวิทยาตาก
เรื่อง ระบบสุริยะ จัดทำโดย ด. ช. ณัฐวัตร ฐาปนสุนทร เลขที่ 12 ชั้น ม
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของ โลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
โรงเรียน เซนต์หลุยส์ศึกษา
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด.ช.นครินทร์ ขันอ้าย ชั้น ม.1/11 เลขที่ 4
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
ระบบสุริยะ จักรวาล.
ภาวะโลกร้อน.
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ดวงอาทิตย์ The Sun

บรรยากาศของดวงอาทิตย์ ดวงอาทิตย์มีชั้นบรรยากาศเช่นเดียวกับโลก แต่องค์ประกอบและลักษณะทางกายภาพของระบบทั้งสองแตกต่างกันมาก ชั้นบรรยากาศเริ่มต้นเหนือผิวของดวงอาทิตย์ โดยเป็นส่วนที่มีความหนาแน่นมากที่สุดและค่อยๆ เบาบางลงมาเมื่อห่างออกไปเรื่อยๆ ชั้นบรรยากาศชั้นนอกของดวงอาทิตย์กินบริเวณกว้างมากกว่า 1.5 เท่าของรัศมีดวงอาทิตย์ ในขณะที่บรรยากาศของโลกมีความหนาเพียงประมาณ 0.003 เท่าของรัศมีโลกเท่านั้น

บรรยากาศของดวงอาทิตย์มี 3 ชั้น คือ 1.ชั้นโฟโตสเฟียร์ 2.ชั้นโครโมสเฟียร์ 3.ชั้นโคโรนา

1.ชั้นโฟโตสเฟียร์ ผิวของดวงอาทิตย์และบรรยากาศชั้นโฟโตสเฟียร์เป็นชั้นที่ส่องสว่างของดวงอาทิตย์ อีกนัยหนึ่งเมื่อเรามองดวงอาทิตย์ ก็เรากำลังมองแสงจากชั้นโฟโตสเฟียร์อยุ่นั่นเอง นอกจากจะเป็นชั้นที่ส่องสว่างของดวงอาทิตย์แล้ว ปรากฏการณ์สำคัญที่เกิดขึ้น ในชั้นนี้ยังมีอีกหลายอย่าง คือ จุดบนดวงอาทิตย์ ปรากฏการณ์ลุกจ้าบนดวงอาทิตย์ และ ปรากฏการณ์ดอกดวงบนดวงอาทิตย์ ซึ่งเป็นลักษณะของผิวด้านบนสุดของวงจรก๊าซหมุนวน อุณหภูมิทั่วไปของโฟโตสเฟียร์ คือ ประมาณ 5,700-5,800 เคลวิน

ลักษะเด่นที่สังเกตุได้บนโฟโตสเฟียร์ 1. จุดมืด 2. แฟคูเล 3. กรานูล 4. ซุปเปอร์กรานูล

2.ชั้นโครโมสเฟียร์ บรรยากาศชั้นนี้มีอุณหภูมิประมาณ 6,000 - 10,000 เคลวิน ปรากฏการณ์ที่สำคัญในชั้นบรรยากาศชั้นนี้ตือ เปลวสุริยะ ซึ่งเป็นการระเบิดของก๊าซร้อน บนดวงอาทิตย์จากผิวขึ้นไปสุ่บรรยากาศ และในบางกรณีที่การระเบิดรุนแรงมากจนก๊าซพุ่งไปถึงชั้นโคโรนาจะมีชื่อเรียกว่า การพุ่งของมวลโคโรนา ปรากฏการณ์นี้มีผลมากต่อสภาวะอากาศอวกาศ 

3.โคโรนา ปัญหาทางสุริยะฟิสิกส์อย่างหนึ่งที่ยังไม่สามารถหาคำตอบได้คือ เหตุใดบรรยากาศชั้นโคโรนาจึงมีอุณหภูมิสูงถึง 2,000,000 เคลวิน ในขณะที่บรรยากาศชั้นโฟโตสเฟียร์และโครโมสเฟียร์มีอุณหภูมิสูงเพียง 5,700 - 10,000 เคลวินเท่านั้น ในปัจจุบันนักสุริยะฟิสิกส์ยังไม่สามารถหาทฤษฎีที่สามารถอธิบายกลไก การส่งถายพลังงานจากผิวดวงอาทิตย์มาถึงชั้นโคโรนาได้

จบการนำเสนอ