วิชาถ่ายภาพ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดยเด็กชายพงษ์ธร พูลสวัสดิ์
Advertisements

การถ่ายภาพงานพัฒนาชุมชน
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
ประโยชน์ของ เครื่องโปรเจคเตอร์
น้ำหนักแสงเงา.
กลุ่ม L.O.Y..
เทคนิคการถ่ายภาพ คณะกรรมการจัดการความรู้ กองกิจการนักศึกษา.
Bipolar Junction Transistor
การใช้งานเครื่องถ่าย
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
วิชาสื่อ ประสม ง แบบทดสอบกลางภาค
ประวัติการถ่ายภาพ(1) วิชาการถ่ายภาพ ได้มีการพัฒนาต่อเนื่องกันมาหลายร้อยปีตามลำดับ ก่อนจะมีกล้องถ่ายภาพ จนในศตวรรษที่ 19 มนุษย์ก็ประสบความสำเร็จในการคิดค้นกระบวนการสร้างภาพ.
การนำสายใยแก้วนำแสงมาเชื่อมต่อ หัวเชื่อมต่อที่นิยมใช้มี ดังนี้
การเคลื่อนที่ของแสงผ่านตัวกลางที่ต่างกัน
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
Ultrasonic sensor.
ช่วงความชัดลึกของภาพ ภาพจะมีช่วงความชัดลึกมากหรือ น้อยขึ้นอยู่กับเหตุผล 3 ประการ คือ.
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก
สภาพท้องฟ้า หลักปฏิบัติในการตรวจอากาศ
บทที่ 7 การทดสอบแรงอัด Compression Test
Liquid Crystal Display (LCD)
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
การแปลงภาพสีเทาให้เป็นภาพขาวดำ
การจำแนกตัวอักษรออกจากบรรทัดข้อความ
2. เลนส์ปกติ หรือเลนส์มาตรฐาน (Normal lens or Standard lens)
3. ขึ้นอยู่กับระยะทางจากวัตถุถึงตัวกล้อง
โรงเรียนชุมชนบ้านบือแนปีแน สพป.ปัตตานี เขต 2
วิธีดูธนบัตรปลอม จุดสังเกตในธนบัตรรัฐบาล.
แนวทางการดำเนินงานในการสำรวจพื้นที่ล่อแหลม
แสง สี ไฟ ในภาพยนตร์ Light Color Gaffer
คัมภีร์ โพธิพงษ์ และ พัชรี คำธิตา
กาแล็กซีและเอกภพ.
การอนุรักษ์พลังงาน ในระบบไฟฟ้าแสงสว่าง และอุปกรณ์สำนักงาน.
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
การเตรียมตัวถ่ายภาพ Outdoor Photography
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ระบบแสงสว่างทางทันตกรรม
Week 6 การถ่ายภาพดิจิทัลเบื้องต้น Digital Photo Technique.
การจัดองค์ประกอบของภาพ
Tip & Trick ตัดต่อ และซ้อนภาพ ปรับแต่งภาพให้สีสันสดใส
ถ่ายภาพสินค้าอย่างไรให้น่าสนใจ
ให้นักเรียนออกแบบงานนำเสนอ เรื่อง กล้องดิจิตอล D-SLR
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิกส์
แต่งภาพให้สวยด้วยจุดตัด 9 ช่อง
Processor Quality Control (การควบคุมคุณภาพการล้างฟิล์ม)
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
เทคนิคการถ่ายรูปภาพ & วีดีโอ  ภาพที่ออกมาจะไม่มีสั่นไหว  ใช้ขาตั้งกล้อง  สถานที่หรือสิ่งของที่สามารถวางกล้องได้  ถือกล้องด้วย 2 มือให้ข้อศอกอยู่ในระดับหน้าอก.
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
กล้องโทรทรรศน์.
โหมดสี ใน Photoshop เรื่องของสีมีความสำคัญอย่างมากในการใช้งานโปรแกรม Photoshop เพราะจะมีผลกับภาพที่เราต้องการปรับแต่งโดยตรง เราสามารถกำหนดโหมดสีใน รูปแบบต่างๆ.
เทคนิคการถ่ายภาพ.
Physics3 s32203 light light2 บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
การถ่ายภาพ 1 หลักการทางฟิสิกส์เกี่ยวกับระบบแสงของกล้องถ่ายรูปในกรณีทั่วไป น้ำยาเคมีบนฟิล์มและระบบความไวของฟิล์ม กล้องถ่ายรูป เอ็กซ์โพสเซอร์
ดาวพลูโต (Pluto).
ผลงานโดย 1. นางสาวกนกนันทน์ สารสมัคร
นางสาวจุไรรัตน์ เพิ่มสุข
ดาวเนปจูน (Neptune).
เทคนิคการถ่ายภาพทิวทัศน์-บุคคล ในเวลากลางวันและกลางคืน
ดาวเสาร์ (Saturn).
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
เทคนิคการปรับกล้อง.
5. การทาบกิ่ง แบ่งออกได้เป็น 2 แบบ
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด.ช.นครินทร์ ขันอ้าย ชั้น ม.1/11 เลขที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้
 Image device 1/3-inch color CMOS ระบบ TV PAL/NTSC  Effective 628 x 582 pixels / 510 x 492 pixels  ขนาดกล้อง 4.69 mm. x 3.54 mm. / 5.78 mm. x 4.19 mm.
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
หลักการทำงาน ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิชาถ่ายภาพ

แสง ( Visible Light ) เดินทางเป็นเส้นตรง เมื่อกระทบวัตถุ มันจะเกิดปรากฏการณ์ 3 แบบ 1. สะท้อนกลับ 2. ส่องทะลุผ่านไป 3. ถูกดูดซับไว้ในวัตถุนั้น (แปรเปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อน) แสงอาทิตย์ มีสีแฝงอยู่ภายใน หรือเรียกว่า spectrum เราเห็นวัตถุมีสีต่าง เพราะวัตถุนั้น ทำ 1. กับบางสีที่เราเห็น และทำ 2. หรือ 3. กับบางสีที่เหลือ

แสง ( Visible Light ) การมองเห็นวัตถุเป็นสีต่างๆ

แสง ( Visible Light ) การมองเห็นวัตถุเป็นสีต่างๆ

อุณหภูมิสี Color Temperature มีหน่วยวัดเป็นเคลวิน °K = องศาเซลเซียส + 273 เผาโลหะดำ ให้ร้อน 3000 องศาเซลเซียส จะได้อุณหภูมิสีที่ 3273 เคลวิน

สีของแสงแบบต่างๆ Auto White Balance ( AWB ) = ปรับอัตโนมัติ Day Light / Outdoor = แสงแดดตอนกลางวัน Shade = ถ่ายในร่มไม้ หรือร่มเงาชายคา ตอนกลางวัน Tungsten / Incandescent = แสงหลอดไส้ Cloudy = แสงตอนกลางวันแต่เป็นวันที่ครึ้มฟ้าครึ้มฝน Fluorescent = แสงหลอดฟลูโอเรสเซนท์ Flash = แสงจากไฟแฟลช 6

กล้องยอดนิยม SLR กล้องสะท้อนภาพเลนส์เดี่ยว SLR (Single Lens Reflex) เวลาดูภาพ บันทึกภาพลงฟิล์ม

ความเร็วชัตเตอร์ (Shutter Speed) 1 STOP = 1 ขั้น 30 15 8 4 2 1 2 4 8 15 30 60 125 250 500 1000 วินาที 1/ 30 15 8 4 2 1 2 4 8 15 30 60 125 250 500 1000 วินาที

ความเร็วชัตเตอร์ (Shutter Speed) 1/30 วินาที 1/1000 วินาที

การทำงานของรูรับแสง (Aperture) ภายในตัวเลนส์ จะมีส่วนที่เป็น “ไดอะแฟรม” (Diaphragm) มี ลักษณะเป็นคลีบหลายอันซ้อนทับกัน แต่จะเปิดเป็นรู (เกือบจะเป็นวงกลม) ตรง กลางให้แสงผ่านไปได้ เราเรียกว่า “รูรับแสง” หรือ “ช่องรับแสง” (Aperture) ซึ่งสามารถปรับขยายขนาดของรูนี้ ให้ใหญ่ขึ้นหรือเล็กลงก็ได้ คล้ายกับม่านตาของคนเรา

การทำงานของรูรับแสง (Aperture) f-stop = f / d = 50 / 50 = 1 Diameter ( d ) Focal Length ( f ) 50mm. 50mm. f/1 คือรูรับแสงที่ d = f

การทำงานของรูรับแสง (Aperture) f-stop = f / d1 = 50 / 50 = 1 f-stop = f / d2 = 50 / 25 = 2 Diameter ( d1 ) Diameter ( d2 ) 50mm. 25 mm. f/2 = ¼ ของ f/1

F 16 F 2.8 ชัดลึก .... ชัดตื้น ... 13

ความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วชัตเตอร์กับรูรับแสง 14

ความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วชัตเตอร์กับรูรับแสง A B C D

ความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วชัตเตอร์กับรูรับแสง กับ ISO

การสะท้อนแสงของวัตถุ และการวัดแสง การสะท้อนแสงของวัตถุต่างๆ กระดาษสีเทามาตรฐาน (Gray card) 18% สะท้อนแสง 99% สะท้อนแสง 18% สะท้อนแสง 1% สีขาว สีเทากลาง สีดำ ค่ากลางในการอ้างอิง เพื่อการวัดแสง

โหมดหลัก Full Auto โหมดอย่างง่าย P = Program Tv = Time Value = Shutter Priority = S ของ Nikon Av = Aperture Value = Aperture Priority = A ของ Nikon M = Manual 18

Mode ที่แนะนำ Tv หรือ S เมื่อถ่ายภาพต่อไปนี้ Mode ที่แนะนำ Av หรือ A เมื่อถ่ายภาพต่อไปนี้ ภาพบุคคล โดย เลือกรูรับแสงกว้างที่สุด (Fน้อยสุด) ภาพวิวทิวทัศน์ โดย เลือกรูรับแสงแคบ (Fมาก) ภาพดอกไม้ โดย เลือกรูรับแสงแคบ (Fมาก) Mode ที่แนะนำ Tv หรือ S เมื่อถ่ายภาพต่อไปนี้ ภาพกีฬา หรือ ภาพเด็ก โดย เลือกความเร็วชัตเตอร์ค่อนข้างสูง ภาพน้ำตก โดย เลือกความเร็วชัตเตอร์ค่อนข้างต่ำ และใช้ขาตั้งกล้อง ภาพตอนกลางคืน ใช้แฟลช ใช้ความเร็วชัตเตอร์ ปานกลาง ( 1/30 วินาที ) ภาพวิวตอนกลางคืน ไม่ใช้แฟลช ใช้ความเร็วชัตเตอร์ ต่ำ และใช้ขาตั้งกล้อง

Mode ที่แนะนำ M เมื่อถ่ายภาพต่อไปนี้ Mode ที่แนะนำ P เมื่อถ่ายภาพต่อไปนี้ ภาพแบบต้องรีบๆถ่าย เช่น เหตุการณ์เฉพาะหน้า ไม่มีเวลาปรับอะไรมาก Mode ที่แนะนำ M เมื่อถ่ายภาพต่อไปนี้ ภาพย้อนแสง หรือมีส่วนที่สว่าง และมืด อยู่ในภาพเดียวกัน ต้องคำนวณแสงเอง ภาพดาว หรือ ภาพพลุ ซึ่งไม่สามารถวัดแสงได้ ต้อง ประมาณค่าแสงเอาเอง

กฏสามส่วน (rule of third) การจัดองค์ประกอบภาพ กฏสามส่วน (rule of third) ลากเส้นสมมติแบ่งพื้นที่ออกเป็น ด้านละ 3 ส่วนเท่าๆกัน ก็จะได้เป็นช่องต่างๆ 9 ช่อง แต่ให้สังเกต จุดตัด 4 จุด เป็นจุดที่เราจะวาง “จุดเด่น” ของภาพ ไว้ในตำแหน่งดังกล่าว