Hatyai GIS-based Accident Data Recording & Analysis ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อจัดเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลอุบัติเหตุจราจร หาดใหญ่ Hatyai GIS-based Accident Data Recording & Analysis
พัฒนามาจากงานวิจัย ระดับปริญญาโท การใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการพัฒนาฐานข้อมูลอุบัติเหตุจราจร : กรณีศึกษา อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา โดย ชนิดา ฆังคะจิตร 2545 พัฒนาบนพื้นฐานของ SCADE และ SCADE+ (Songkla Common Accident Database Entry) 2543 วิวัฒน์ สุทธิวิภากร, ศักดิ์ชัย ปรีชาวีรกุล, สมพล สูงทองจริยา สนับสนุนการจัดเก็บข้อมูล โดย ชมรมลดอุบัติเหตุบนท้องถนนเมืองหาดใหญ่ จัดเก็บข้อมูลโดย มูลนิธิมิตรภาพสามัคคี บันทึกข้อมูลโดย คุณปฐมพร ซื่อธานุวงศ์
บันทึกข้อมูล โดยระบุตำแหน่งในแผนที่ และป้อนข้อมูล วันที่ เวลา ประเภทอุบัติเหตุ รหัสอุบัติเหตุ คนขับตาย/บาดเจ็บ ผู้โดยสารตาย/บาดเจ็บ คนเดินเท้าตาย/บาดเจ็บ ชาย/หญิงบาดเจ็บสาหัส/เล็กน้อย ชาย /หญิงตายที่เกิดเหตุ/โรงพยาบาล รถเก๋ง/จักรยานยนต์/ปิกอัพ/จักรยานยนต์สามล้อ รถตู้/โดยสารประจำทาง/จักรยาน/สามล้อถีบ/บรรทุกหกล้อ รถบรรทุกสิบล้อ/บรรทุกพ่วง/กึ่งพ่วง/เพื่อการเกษตร ไฟฟ้า/แสงสว่าง/สัญญาณไฟจราจร สภาพอากาศ/สภาพผิวจราจร รถคันที่ 1&2 เพศ อายุ อาการบาดเจ็บ ใบอนุญาตขับขี่ อุปกรณ์นิรภัยคนขับแอลกอฮอล์หรือสารเสพติดในคนขับ อุปกรณ์นิรภัยผู้โดยสาร ข้อผิดพลาดคนขับรถ คนเดินเท้า เพศ อายุ อาการบาดเจ็บ ข้อผิดพลาด
การวิเคราะห์ข้อมูลอุบัติเหตุจราจรสามารถทำได้ 2 แนวทาง คือ จากการสืบค้นข้อมูลด้วยเมนู Query ภายใต้เงื่อนไขที่ผู้ใช้ต้องการโดยใช้ภาษามาตรฐานสำหรับฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) คือ ภาษา SQL (Structure Query Language) เมนูการวิเคราะห์ วิเคราะห์โดยรวม จุดอันตราย มาตรการ
การสืบค้นข้อมูลด้วย SQL ตัวอย่าง จำนวนอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น ณ จุดต่างๆ เรียงจากมากไปน้อย
การสืบค้นข้อมูลด้วยเมนู จุดอันตรายจัดลำดับตามจำนวนครั้งในการเกิด ตัวอย่าง จุดอันตรายจัดลำดับตามจำนวนครั้งในการเกิด
เมนูการวิเคราะห์โดยรวม
อุบัติเหตุที่เกิดในช่วงเวลาต่างๆ
เมนูจุดอันตราย
เมนูเสนอแนะมาตรการ