การพบเชื้อใน stool culture ของผู้ป่วยเด็ก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2548
Advertisements

หน่วยงานจักษุกรรม รพ.ค่ายวชิราวุธ.
การศึกษาการใช้ Tienam ในผู้ป่วยโรคติดเชื้อภายในโรงพยาบาล
Sulperazon.
ประเมินข้อมูลการใช้ยา
ความน่าจะเป็น (Probability)
แนวโน้มผู้ป่วยอุบัติเหตุจราจร ปี
รายงานบาดเจ็บอุบัติเหตุจราจร ปี 2551
รายงานการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุขนส่ง โรงพยาบาลหาดใหญ่ ปี 2551
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2552 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
รายงานอุบัติเหตุขนส่ง ปี 2553
กลุ่ม ๕.
ACCURACY IN DIAGNOSIS ACUTE APPENDICITIS IN BUDDHACHINNARAJ HOSPITAL
ความชุกของการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีในผู้บริจาคโลหิตในจังหวัดพิษณุโลก
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการติดเชื้อของแผลผ่าตัดในผู้ป่วยที่มาใช้บริการโดยการผ่าตัด ที่ห้องผ่าตัดใหญ่ รพ. พุทธชินราช โดย นสพ. ณัฐกานต์ ตาบุตรวงศ์
งานวิจัยทางคลินิก เรื่อง : ความน่าเชื่อถือของระดับ Serum PSA ในการตรวจหา มะเร็งต่อมลูกหมากเปรียบเทียบกับผลการตรวจชิ้นเนื้อ ต่อมลูกหมาก ( PROSTATE.
งานวิจัยเรื่อง ระยะเวลาและอัตราการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะของโรงพยาบาลพุทธชินราช.
ความพึงพอใจของผู้มาใช้บริการคลินิกพิเศษ โรงพยาบาลพุทธชินราช
Prevalence rate ของผู้ป่วย Abortion
การประเมินภาวะการใช้ยา Ceftazidime และ Imipenem
PNEUMONIA UNDER FIVE YEAR IN BUDDHACHINARAJ HOSPITAL
ปัจจัยที่ทำให้ผู้ป่วยใน ICUติด LRI จาก ICU ของโรงพยาบาลพุทธชินราช
B3 นสพ.ต้า นิรุกติศานติ์ นสพ.ปารเมศ เทียนนิมิตร
การศึกษาผลการดำเนินงานคลินิกเลิกบุหรี่ โรงพยาบาลพุทธชินราช
หัวข้อเรื่อง การทบทวนการรักษาผู้ป่วยไข้เลือดออกเดงกี
RESEARCH PROPOSAL A6 GROUP.
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
วิธีการทางวิทยาการระบาด
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
ระบบการเบิก-จ่าย ลูกหนี้เงินยืม
ทำการตั้งเบิกเพิ่ม แบบฟอร์ม GFMIS.ขบ.02 เพื่อชดใช้ใบสำคัญ
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 31 กรกฏาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 19 สิงหาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การให้การปรึกษาทางพันธุศาสตร์ ธาลัสซีเมีย
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเขื่อนปากมูล
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
การรายงานผลการจัดการศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
นสพ. วารี จุลเกตุ รหัส นสพ. วีรพรรณ ปรางค์เจริญ รหัส
การแจกแจงปกติ.
งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
ชี้แจงรายงาน ปีงบประมาณ 2555
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
ทศวรรษการพัฒนาเด็กไทย
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
ผลการศึกษาข้อมูลสาเหตุการตาย รพ.จังหวัดสมุทรปราการ
พวกเรามีความเห็นว่า เป็นอย่างไร ?.
ข้อเสนอและทางเลือก คลินิกอาชีวเวชกรรมโรงพยาบาลกมลาไสย (กลุ่มครูและบุคลากรทางการศึกษา) ความร่วมมือระหว่าง สำนักงานส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครู และบุคลากรทางการศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ์
ณ โรงแรมมารวยการ์เด็น ธันวาคม 2555
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
สาขาโรคมะเร็ง.
ประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2556 “เพิ่มประสิทธิภาพหลักประกันสุขภาพไทย” ระหว่างวันที่ ตุลาคม 2555 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการ.
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน
การเขียน Abstract บทคัดย่อ (เรื่องย่อ)
ภาวะราคาปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดชุมพร จังหวัดกระบี่
โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช
โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2558 เดือน พฤศจิกายน 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
คณะผู้จัดทำ นาย ชาญชัย คุณยศยิ่ง นาย จีรศักดิ์ ฝั่งมณี
นางสาวกุลวีณ์ เกษมสุข ผู้วิจัย
การแก้ไขปัญหา การขอกำหนด ตำแหน่งทางวิชาการ ซี 9
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
การเตรียมความพร้อมของหน่วยกู้ชีพใน เทศกาลปีใหม่ ปี ๒๕๕๔ ระหว่างวันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๓ ถึง วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๕๔ หน่วยกู้ชีพ FR และ BLS – ตรวจเช็คสภาพรถยนต์ให้พร้อมออกปฏิบัติงาน.
การปรับเปลี่ยนลูกจ้าง ชั่วคราวเข้าสู่การเป็น พนักงานกระทรวง สาธารณสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพบเชื้อใน stool culture ของผู้ป่วยเด็ก acute diarrhea ที่พบเม็ดเลือดขาวใน stool examination นสพ. มนต์ธวัช อำนวยพล นสพ. วีระวรรณ์ รัตนพิบูลย์ นสพ. อภิชาติ ชุมทอง

หลักการและเหตุผล -Acute infectious diarrhea -WBC ใน Stool examination -การรักษาโดยantibiotic -ไม่พบเชื้อใน Stool culture

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาการพบ WBC ใน Stool examination และ pathogenic bacteria ใน Stool culture ในเด็กที่เป็น Acute diarrhea 2. เพื่อศึกษา การพบWBCใน Stool culture กับ Invasive bacteria 3. เพื่อต้องการทราบชนิดของ pathogenic bacteria ที่สามารถ Culture ได้และ Sensitivity ของเชื้อ 4. เพื่อศึกษาการให้antibioticก่อน และหลังทราบผล Stool culture

STUDY DESIGN RETROSPECTIVE DESCRIPTIVE AND ANALYTICAL STUDY

TARGET POPULATION - Inclusion criteria: ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัย Acute diarrhea ในหอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม 2 รพ พุทธชินราช อายุระหว่าง 1 เดือน - 15ปี ระหว่าง วันที่ 1 มกราคม 2542 - 31 ธันวาคม 2542 - Exclusion criteria : ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษา หรือใช้ผล Stool culture และ Stool examination จากโรงพยาบาลอื่น Immunocompromise host ซึ่งได้แก่ HIV infection, Clinical malignancy disease, และ Thalassemia ส่ง Stool culture และ Stool examination ห่างกันเกิน 1 วัน ให้antibioticก่อนส่ง Stool culture และ Stool examination

แผนภูมิที่ 1 แสดงขั้นตอนการเก็บตัวอย่าง มีผล stool culture 718 ราย ค้นผล stool examination ไม่มีข้อมูลหรือส่ง stool culture และ examination ห่างกันเกิน 1 วัน 477 ราย มีข้อมูล 241 ราย ค้น Medical record ไม่พบ 31 ราย พบ 210 ราย คัดออก 19 ราย เนื่องจาก Immunocompromise 6 ราย และไม่ใช้ผู้ป่วย diarrhea 13 ราย ได้ตัวอย่าง 191 ราย

อุปกรณ์ แบบฟอร์มการกรอกข้อมูล STATISTICAL ANALYSIS ความถี่ร้อยละ Chi-square

ผลการเก็บข้อมูล

- ผล Stool examination พบWBC 32 ราย (16.75%) - ผล Stool culture พบ pathogenic bacteria 35 ราย (18.32%) - ความสัมพันธ์ที่จำนวน WBC ตั้งแต่ 2 เซลล์ขึ้นไป - WBC ตั้งแต่ 4-5 เซลล์ขึ้นไปมีความไวและความจำเพาะสูงที่สุด

ความสัมพันธ์, ความไว และความจำเพาะในกลุ่มตัวอย่าง

- เฉพาะเชื้อที่เป็น Invasive bacteria ได้แก่ Shigella spp - เฉพาะเชื้อที่เป็น Invasive bacteria ได้แก่ Shigella spp.,Salmonella spp. - คัดเชื้อที่เป็น Non-invasive bacteria ออกซึ่งได้แก่ EPEC - เป็นจำนวน 9 ราย (4.71%) - พบความสัมพันธ์ที่จำนวน WBC ตั้งแต่ 4-5 เซลล์ขึ้นไป - WBC ตั้งแต่ 8-10 เซลล์ขึ้นไปมีความไวและความจำเพาะสูงที่สุด

เฉพาะ Invasive bacteria

แสดงสัดส่วนของเชื้อแต่ละชนิด

ตารางที่ 3 แสดงจำนวนของเชื้อแต่ละชนิด และ Antibiotic ที่ Susceptible ตั้งแต่ 80% ขึ้นไป Pathogen จำนวน % Sensitivity EPEC polyvalence 1 46 35.38 AN,GM,CRO,CL EPEC polyvalence 2 27 20.77 AN,GM,CRO,CL EPEC polyvalence 3 19 14.62 AN,GM,CRO,CAZ Salmonella B 13 10.00 NX

Salmonella E 5 3.85 AM,SXT Salmonella D 4 3.08 NX Salmonella C 4 3.08 AM,SXT V. parahae. 3 2.31 SXT,NX,C,TE EPEC spp. 3 2.31 AN,GM,CRO,CL P. shigelloides 3 2.31 AM,SXT Vibrio cholerae 2 1.54 SXT,NX Shigella D 1 0.77 AM,NX

4. การศึกษาว่าการให้antibioticก่อน และหลังทราบผล Stool culture

ผู้ป่วย 35 ราย แสดงการให้ยาปฏิชีวนะ ได้รับ 18 ไม่ได้รับ 17 ก่อนทราบผล Stool culture Susceptible 13 ราย(72%) ไม่ได้ทดสอบ 5 ราย Discharge ก่อน 9 ราย(69%) หลังทราบผล stool culture Susceptible 3 ราย(75%) ไม่ได้ทดสอบ 1 ราย

สรุปผลข้อมูล

1. จำนวน WBC ตั้งแต่ 4-5 เซลล์ขึ้นไปเป็นจุดตัดที่ดีที่สุดในการทำนายผล Stool culture ที่ Sensitivity 26% และ Specificity 92% 2. ตั้งแต่ 8-10 เซลล์ขึ้นไปในกรณีของ Invasive bacteria ที่ Sensitivity 33% และ Specificity 94% 3. โดยเชื้อที่ culture ได้มากที่สุดคือ EPEC

4. และผลการทดสอบ Sensitivity ตามตารางที่ 3 5. การให้antibioticก่อนทราบผล Stool culture 18 รายเหมาะสมกับsensitivity 13 ราย (72%) และได้รับantibioticหลังทราบผล Stool culture 4 รายเหมาะสมกับ Sensitivity 3 ราย (75%)

สรุปและวิจารณ์ผลการวิจัย การนำไปใช้ -การพิจารณาส่ง Stool culture -การพิจารณาให้ antibiotic ข้อจำกัด -การบันทึกข้อมูลที่ไม่ชัดเจน -ใช้ได้เพียงบนหอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม 2 เพียงที่เดียว -ห้องปฏิบัติการมิได้ทดสอบ sensitivity ของยาบางตัว -มีผู้ป่วย 9 ใน 13 ราย (69%) ถูกจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล ก่อนที่จะทราบผล Stool culture -ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น acute diarrhea มักจะมีอาการของ URI ร่วมด้วย

ข้อเสนอแนะ -ศึกษาวิจัยต่อแบบ Prospective study เพื่อประเมินประสิทธิภาพ สามารถขยายกลุ่มตัวอย่างให้ใหญ่ขึ้นจากการส่ง Stool examination เพิ่มขึ้น และขยายไปยังแผนกอื่นๆ -ควรมีการปรับเปลี่ยนแนวทางการรักษา และทดสอบ Sensitivity ให้ตรงกันเพื่อประโยชน์ต่อการรักษาผู้ป่วย -ควรมีการทดสอบว่ายาที่ใช้ใน URI ตรงกับ Sensitivity ของเชื้อใน Stool culture หรือไม่

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณ -เจ้าหน้าที่ห้อง Stool examination -เจ้าหน้าที่ห้อง Stool culture -เจ้าหน้าที่ห้องเก็บเวชระเบียนผู้ป่วยใน -เจ้าหน้าที่พยาบาลแผนกกุมารเวชกรรม 2