ภาวะแทรกซ้อนของการรักษาผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย ที่ได้รับการรักษาโดยวิธีทดแทนไต ในโรงพยาบาลพุทธ- ชินราช ในช่วงปี ม.ค 2543 - ธ.ค 2544 Complications.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สาขาวิชาศัลยศาสตร์หลอดเลือด ภาควิชาศัลยศาสตร์
Advertisements

การวิเคราะห์และใช้รหัส ICD ให้ได้ผลประโยชน์สูงสุด
CKD Guideline จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สถานการณ์โรคไตเรื้อรัง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
การศึกษาการใช้ Tienam ในผู้ป่วยโรคติดเชื้อภายในโรงพยาบาล
Sulperazon.
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
การผ่าตัดปากมดลูกผ่านกล้องส่องผ่านช่องท้องโดยเก็บมดลูกไว้มีโอกาสตั้งครรภ์สำหรับผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก : ความสำเร็จครั้งแรกในระเทศไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
กลุ่ม ๕.
ACCURACY IN DIAGNOSIS ACUTE APPENDICITIS IN BUDDHACHINNARAJ HOSPITAL
ความชุกของการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีในผู้บริจาคโลหิตในจังหวัดพิษณุโลก
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการติดเชื้อของแผลผ่าตัดในผู้ป่วยที่มาใช้บริการโดยการผ่าตัด ที่ห้องผ่าตัดใหญ่ รพ. พุทธชินราช โดย นสพ. ณัฐกานต์ ตาบุตรวงศ์
งานวิจัยทางคลินิก เรื่อง : ความน่าเชื่อถือของระดับ Serum PSA ในการตรวจหา มะเร็งต่อมลูกหมากเปรียบเทียบกับผลการตรวจชิ้นเนื้อ ต่อมลูกหมาก ( PROSTATE.
งานวิจัยเรื่อง ระยะเวลาและอัตราการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะของโรงพยาบาลพุทธชินราช.
ความพึงพอใจของผู้มาใช้บริการคลินิกพิเศษ โรงพยาบาลพุทธชินราช
หลักการและเหตุผล ผู้หญิงแบ่งช่วงชีวิตออกเป็น 3 ช่วงชีวิต
Prevalence rate ของผู้ป่วย Abortion
ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยในสูงอายุ ของรพ.พุทธชินราช
การประเมินภาวะการใช้ยา Ceftazidime และ Imipenem
PNEUMONIA UNDER FIVE YEAR IN BUDDHACHINARAJ HOSPITAL
ปัจจัยที่ทำให้ผู้ป่วยใน ICUติด LRI จาก ICU ของโรงพยาบาลพุทธชินราช
B3 นสพ.ต้า นิรุกติศานติ์ นสพ.ปารเมศ เทียนนิมิตร
การศึกษาผลการดำเนินงานคลินิกเลิกบุหรี่ โรงพยาบาลพุทธชินราช
หัวข้อเรื่อง การทบทวนการรักษาผู้ป่วยไข้เลือดออกเดงกี
RESEARCH PROPOSAL A6 GROUP.
การพบเชื้อใน stool culture ของผู้ป่วยเด็ก
ขุมทรัพย์จากใบ TRIGGER TOOL
The Effect of Angiotensin II Receptor Blocker on Peritoneal Membrane Transports in Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis Patients นางสาวมนสิชา บัวอ่อน.
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
การดูแลผู้ป่วยเบาหวานครบวงจร ศูนย์แพทย์ชุมชนมะค่า
การพัฒนางานประจำสู่การวิจัย Routine to Research : R2R
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ เรื่อง หลักเกณฑ์และ อัตราสำหรับประโยชน์ทดแทนกรณี
การศึกษาอัตราการเกิดอุบัติเหตุฯ ระหว่าง ปฎิบัติงานของบุคลากรทางการแพทย์และ สาธารณสุขของโรงพยาบาลพุทธชินราช.
นสพ. วารี จุลเกตุ รหัส นสพ. วีรพรรณ ปรางค์เจริญ รหัส
ตารางแสดงตัวชี้วัดที่เฝ้าระวัง หน่วยไตเทียม ก่อนทำCQI
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ตาม พระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ เรื่อง หลักเกณฑ์และอัตรา สำหรับประโยชน์ทดแทนในกรณี
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผลการดำเนินงาน และผลงานเด่น/ นวัตกรรม SP สาขาโรคไต
1.CKD clinic : คลินิกชะลอไตเสื่อม
*ppt.2 ระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า การอบรมการดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า สำหรับผู้ปฏิบัติในพื้นที่ สนับสนุนโดย กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
ผลการศึกษาข้อมูลสาเหตุการตาย รพ.จังหวัดสมุทรปราการ
การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันในระบบ Stroke Fast track เครือข่ายบริการโรงพยาบาลสกลนคร ประภัสสร สมศรี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ,
แนวทางดำเนินงานควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในระบบหลักประกัน สุขภาพถ้วนหน้า 2554 พญ.ขจีรัตน์ ปรักเอโก สปสช.เขต 7 ขอนแก่น 1 มิถุนายน.
Technics in Counseling for Renal Replacement therapy
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพจังหวัดปทุมธานี
แนวทางการบันทึก และตรวจประเมินคุณภาพ การบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยนอก
Service plan สาขาไต นพ.ประนาท เชี่ยววานิช.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน กรกฎาคม 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
แนวทางการดำเนินงาน แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคไตวาย ปีงบประมาณ 2558
ผลการดำเนินการปีงบ 2557 ด้านบริหาร - จัดทำแผน ขอเครื่องมือในการจัดตั้ง - หน่วยบริการฟอกเลือด รพ กบินทร์บุรี - ทำแผนในการพัฒนาบุคลากร ในการเข้ารับการอบรม.
เอกสารประกอบการประชุม “โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลและป้องกันโรคไตเรื้อรังในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง” รุ่งรักษ์ ภิรมย์ลาภ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
ชื่อเรื่อง การศึกษาความสนใจด้านการดูแลสุขภาพตนเองของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ และนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางศิริพร.
ภญ. นีลนาถ เจ๊ะยอ รพ. หนองจิก จ. ปัตตานี. ที่มาของ การพัฒนา.
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
ผลลัพธ์การศึกษาสถานการณ์ การได้รับยาสลายลิ่มเลือด และค่าใช้จ่าย ของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ในโรงพยาบาลหาดใหญ่ กัลยาณี เกื้อก่อพรม พยม.
เกณฑ์การส่งต่อผู้ป่วย COPD ดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดปทุมธานี
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI )
รายงานการประเมินตนเอง 4.3 ช. การดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ
การฝึกปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 1 (กระบวนวิชา ) และ
ผศ.นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน เมษายน 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภาวะแทรกซ้อนของการรักษาผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย ที่ได้รับการรักษาโดยวิธีทดแทนไต ในโรงพยาบาลพุทธ- ชินราช ในช่วงปี ม.ค 2543 - ธ.ค 2544 Complications of Renal Replacement Therapy in End Stage Renal Disease patients . ( in Buddhachinaraj Hospital Jan 2000 – Dec 2001 . ) นสพ.วิไลพร วสุธาพิทักษ์ นสพ.เจษฎา ธรรมสกุลศิริ นสพ.เชิดศักดิ์ ศักดิ์ลอ

หลักการและเหตุผล ผู้ป่วยที่เป็นโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย ( End stage renal disease : ESRD ) เป็นโรคที่ไตสูญเสียหน้าที่อย่างถาวร ไม่มีทางรักษาได้หายขาด การรักษาผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายโดยวิธีทดแทนไตมี 3 วิธี : HD , CAPD , KT

วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย ( End Stage Renal Disease : ESRD ) ที่ได้รับการรักษาโดยวิธีทดแทนไต แต่ละวิธี ได้แก่ วิธีฟอกเลือด ( HD ) วิธีล้างช่องท้องถาวร ( CAPD ) และ วิธีผ่าตัดเปลี่ยนไต ( Kidney transplantation : KT )

คำถามวิจัย การรักษาผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย ( ESRD ) โดยวิธีวิธีฟอกเลือด ( Hemodialysis ) , วิธีล้างช่องท้องถาวร ( CAPD ) และวิธีเปลี่ยนไต ( KT ) ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่แตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร ?

คำถามรอง 1. สาเหตุของ ESRD ที่พบของผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาที่ รพ.พุทธชินราช 2 . เปรียบเทียบอายุของ Pt. ESRD ที่ได้รับการรักษาด้วยวิธี RRT

ทบทวนวรรณกรรม การศึกษาของ EDWARD F. VONESH and JOHN MORAN เรื่องการประเมินความแตกต่างระหว่างผู้ป่วยที่รักษาด้วย HD กับ PD ในปี 1987-1993 การศึกษาแบบ Cohort ควบคุมตัวแปรอายุ เพศ เชื้อชาติ สาเหตุของ ESRD แสดงให้เห็นว่าอัตราการตายของผู้ป่วยที่รักษาด้วย PD สูงกว่า HD และมีการศึกษาอัตราการตายของผู้ป่วยที่ใช้ HD และ PD แล้วเปลี่ยนมาใช้ transplantation พบว่าไม่มีความแตกต่างกัน (RR. PD=HD) และยังมีการแยกผู้ป่วยเบาหวานกับไม่เป็นเบาหวานพบว่าอัตราการตายไม่มีความแตกต่างกัน

กรอบแนวคิดการวิจัย Variables : Independent : ผู้ป่วย ESRD ที่ได้รับการรักษาแบบ HD , CAPD และ KT ในโรงพยาบาลพุทธชินราช Dependent : ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น

ได้รับการรักษาแบบ CAPD ผู้ป่วย ESRD ได้รับการรักษาแบบ HD ได้รับการรักษาแบบ CAPD ได้รับการรักษาแบบ RT Medical records ( OPD & IPD cards ) ภาวะแทรกซ้อน NO YES นำภาวะแทรกซ้อนในแต่ละวิธีมาวิเคราะห์

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ทราบสาเหตุของผู้ป่วย ERSD ที่ได้เข้ารับการ รักษาที่ ร.พ. พุทธชินราช 2. ทราบถึงภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นในแต่ละวิธีการ รักษา 3. เพื่อหาวิธีป้องกัน และ ลดภาวะแทรกซ้อนที่เกิด ขึ้นในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย 4. เพื่อประโยชน์ในการดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด รวม ถึงเป็นแนวทางของแพทย์ ในการให้คำแนะนำผู้ป่วย

ระเบียบวิธีวิจัย Target population ผู้ป่วย ESRD ที่เข้ารับการรักษาด้วยวิธีฟอกเลือด( HD ) วิธีล้างช่องท้องถาวร ( CAPD ) และรักษาด้วยวิธีเปลี่ยนไต ( RT ) ในหน่วยไตโรงพยาบาลพุทธชินราช ในช่วง ม.ค. 43 - ธ.ค. 44 Sample size ผู้ป่วย ESRD ทุก case ที่เข้ารับการรักษาด้วยวิธีฟอกเลือด( Hemodialysis ) ล้างช่องท้องถาวร ( CAPD ) และรักษาด้วยวิธีเปลี่ยนไต ( RT ) ในหน่วยไตโรง-พยาบาลพุทธชินราช ในช่วง ม.ค. 43 - ธ.ค. 44

วิธีการศึกษา Retrospective cohort study …… 2542 2543 2544 2545 ……

Bias Information : Omission / Imprecision of medical records Confounder : Age , Sex , Cause of ESRD , Co-morbidity , and Behavior Tools Medical records

นิยามศัพท์ Complications Chronic renal failure - Infection - Rejection - Ultrafiltration failure - UTI Chronic renal failure End stage renal disease Renal replacement therapy Dialysis Hemodialysis CAPD KT

- Other สาเหตุอื่นที่พบได้ ได้แก่ CVA , Portal Hypertension , DVT , Hemorrhoid , Hydroceal , BPH , Hepatitis , bilateral quadricep rupture , pneumonia , bronchitis - Metabolic complications malnutrition Electrolyte imbalance lipid metabolism Uremic symptom - Cardiovascular symptom - Hernia GI Disorder - Hematologic disorder

การวิเคราะห์ข้อมูล สถิติเชิงพรรณา ระยะเวลาที่ทำการศึกษา 2 สัปดาห์

ผลการศึกษา ตารางที่ 1 แสดงถึงจำนวนผู้ป่วยของการรักษา RRT แต่ละวิธี

ตารางที่ 3 ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากการรักษา HD

ตารางที่ 4 ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากการรักษา CAPD

ตารางที่ 5 ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากการรักษาด้วยวิธี KT

ตารางที่ 6 เปรียบเทียบภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากการรักษา RRT

ตารางที่ 7 สาเหตุของ ESRDที่พบของผู้ป่วยที่เข้ารับการ รักษาที่โรงพยาบาลพุทธชินราช

ตารางที่ 8 เปรียบเทียบอายุของผู้ป่วย ESRD ที่ได้รับการรักษาด้วยวิธี RRT

สรุป - ข้อมูลที่นำมาศึกษา มีจำนวนผู้ป่วยที่ศึกษาทั้งหมด 108 คน เป็นผู้ชาย 59 คนและผู้หญิง 49 คน (รพ.พุทธชินราช 1 ม.ค. 43 – 31 ธ.ค.44 ) - วิธีการที่รักษามากที่สุดคือ CAPD - ในผู้ที่มีอายุมากกว่า 40 ปี พบว่าวิธีที่ใช้มากที่ สุดคือ CAPD และ HD

- สาเหตุที่พบมากที่สุด คือ Hypertensive nephropathy 27.78% - ในผู้ป่วยที่อายุน้อยกว่า 40 ปี วิธีที่นิยมใช้มากที่สุดคือ KT - สาเหตุที่พบมากที่สุด คือ Hypertensive nephropathy 27.78% - อัตราการเกิดepisode of complication / person-month พบมากที่สุดคือ CAPD > HD > KT - complication ในผู้ป่วยที่รักษาด้วย HD และ CAPD พบว่าเกิด infection สูงสุด

- ส่วนในผู้ป่วย KT พบ Acute allograft renal rejection มากที่สุด - สำหรับภาวะแทรกซ้อนที่เกิดร่วมกันพบว่ามี infection, metabolic complication และ cardiovascular diseases โดยพบมากในผู้ป่วยที่รับการรักษาด้วย CAPD

วิจารณ์ 1. จำนวนประชากรที่นำมาศึกษาน้อยเกินไป 1. จำนวนประชากรที่นำมาศึกษาน้อยเกินไป 2. การจำกัดในการสืบค้นเวชระเบียน 3. ข้อจำกัดในเรื่องของเวลา 4. การขาด F/U หรือเปลี่ยนวิธีการรักษา จะไม่นำมาคิด จึงมีผล ในการวิเคราะห์ข้อมูล

THE END