หลักการและเหตุผล ผู้หญิงแบ่งช่วงชีวิตออกเป็น 3 ช่วงชีวิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงงาน เรื่อง การมีเพศสัมพันธ์ก่อนอันสมควร
Advertisements

การดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 10
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ. เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
การวิจัย RESEARCH.
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
สถานการณ์การใช้ยาปฏิชีวนะในปัจจุบัน ในเขตเทศบาลนครพิษณุโลก
Prevalence rate ของผู้ป่วย Abortion
ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยในสูงอายุ ของรพ.พุทธชินราช
การประเมินภาวะการใช้ยา Ceftazidime และ Imipenem
ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่ม ที่มีแอลกอฮอล์
ผลงานวิจัย ทัศนคติการบริโภคเครื่องดื่มบำรุงกำลังของผู้ประกอบอาชีพถีบสามล้อในเขตเทศบาลนครพิษณุโลก สิงหาคม 2543 โดย นายเกตุ ชูพันธ์ นายสมควร เดชะศิลารักษ์
หัวข้อเรื่อง การทบทวนการรักษาผู้ป่วยไข้เลือดออกเดงกี
RESEARCH PROPOSAL A6 GROUP.
การพัฒนาตัวชี้วัดสุขภาพผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาจังหวัดลำพูน Development of Elderly Health Indicators in Thailand.
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
การวิเคราะห์ ประมวลผล และนำเสนอข้อมูล
ประชากร การคำนวณขนาดตัวอย่าง และวิธีการสุ่มตัวอย่าง
วิธีการทางวิทยาการระบาด
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
อนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น จังหวัดจันทบุรี
ทิพาพร เสถียรศักดิ์พงศ์
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
แนวทางการสำรวจพฤติกรรมเสี่ยง โรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ ปี 2550 รัชนีกร กุญแจทอง นักวิชาการสาธารณสุข 7 ว. กลุ่มโรคไม่ติดต่อ.
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
การพัฒนางานประจำสู่การวิจัย Routine to Research : R2R
โครงการสำรวจสุขภาพประชาชนไทย ครั้งที่4
ชุมชนคลองตาแป้น ศูนย์บริการสาธารณสุข 62 ตวงรัชฏ์ ศศะนาวิน ภักดี ฐานปัญญา
ประชากรและการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
การศึกษาอัตราการเกิดอุบัติเหตุฯ ระหว่าง ปฎิบัติงานของบุคลากรทางการแพทย์และ สาธารณสุขของโรงพยาบาลพุทธชินราช.
Eng ศึกษาความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการขันติ โสรัจจะ รุ่นที่ 1 ปีการศึกษา วัตถุประสงค์การวิจัย ระเบียบวิธีวิจัย ผลการวิจัย ผู้วิจัยต้องการศึกษา.
สังคมต้นแบบเรียนรู้การป้องกัน และดูแลโรคกระดูกพรุน
บทที่ 8 การประเมินภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของชุมชน
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
การดำเนินการของ นักวางแผนเชิงกลยุทธ์ ด้านสุขภาพ ร่วมกับ สนย.
บุหรี่และสุรา ความแตกต่างของปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพระหว่าง ครัวเรือนที่มีเศรษฐานะและระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน วิชัย โชควิวัฒน สุพล ลิมวัฒนานนท์ กนิษฐา.
หกมิติความไม่เท่าเทียมระหว่างหญิงชาย หนทางเพื่อพัฒนาสู่ความเสมอภาค
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
การส่งเสริมสุขภาพช่องปาก
คู่มือการดูแลทางจิตเวช เพื่อป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตาย
จุฑาทิพย์ ชมภูนุช สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
บทบาทท้องถิ่นกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต
การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย เขตบริการสุขภาพที่ 7
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
ชื่อเรื่อง การศึกษาความสนใจด้านการดูแลสุขภาพตนเองของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ และนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางศิริพร.
การพัฒนาการดำเนินงาน Service Plan เขตบริการสุขภาพที่ 1 สาขาตา
ข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ประชาชนรู้สึกอย่างไรต่อ บริการปฐมภูมิ. หญิงวัย ทอง ลูกค้าส่วนใหญ่หน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การศึกษาอาการและแนวทางแก้ไขของสตรีวัยหมดประจำเดือน ใน เขตเทศบาลนครพิษณุโลก 22 - 27 กรกฎาคม 2543

หลักการและเหตุผล ผู้หญิงแบ่งช่วงชีวิตออกเป็น 3 ช่วงชีวิต วัยเด็ก วัยเจริญพันธุ์ วัยหมดประจำเดือน การสำรวจของสหรัฐอเมริกา สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาและเศรษฐกิจแห่งชาติ

หลักการและเหตุผล การดูแลอนามัยสตรีวัยหลังเจริญพันธุ์ใน จ.แพร่ กลุ่มตัวอย่าง 305 คน ระยะเวลา ธันวาคม 2541 - มีนาคม 2542 ภาวะหมดระดูที่พบมากที่สุด คะแนนเจตคติและการดูแลตัวเอง อยู่ในระดับสูง ความสัมพันธ์กับการดูแลตนเอง ข้อเสนอแนะการวิจัย

วัตถุประสงค์ I II III เพื่อศึกษาอาการและการรักษาที่พบมาก ของสตรีวัยหมดประจำเดือน II เพื่อศึกษาโรคที่พบมากในสตรีวัยหมด ประจำเดือน III เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรักษา กับลักษณะของสตรีวัยหมดประจำเดือน

รูปแบบของงานวิจัย ศึกษาสตรีวัยหมดประจำ เดือนอายุ 40 - 59 ปี สถานที่ในเขตเทศบาลนครพิษณุโลก สุ่มตัวอย่าง 137 คน CLUSTER SAMPLING วิจัยแบบ CROSS-SECTIONAL DESCRIPTIVE STUDY ระหว่างวันที่ 22-27 ก.ค 43 MENOPAUSE?

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 2 1 N 3

นิยามศัพท์ในการวิจัย สตรีวัยหมดประจำเดือน การรักษา ลักษณะของสตรีวัยหมดประจำเดือน โรคประจำตัว อาการหมดประจำเดือน สวัสดิการทางสุขภาพ

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย INTERVEIW QUESTIONNAIRE ANALYSIS

ผลการศึกษา

ลักษณะข้อมูลทั่วไป

ลักษณะข้อมูลทั่วไป

อาการของสตรีวัยหมดประจำเดือน ปวดข้อต่างๆ 78.1 % ปวดหลัง 74.5 % หงุดหงิด 67.9 % เหนื่อยง่าย 66.4 % ปวดศีรษะ 63.5 % ปวดกล้ามเนื้อ 63.5 % หมายเหตุ %ของกลุ่มตัวอย่าง

CLINIC แสดงผู้มารับบริการที่คลินิก

การรักษา

วิจารณ์งานวิจัย แบบสอบถามมีข้อผิดพลาดตรงที่ผู้วิจัยไม่ได้ออกแบบเพื่อใส่ค่าเป็นตัวเลขของรายได้ครอบครัว ,จำนวนบุตรมีชีวิต และจำนวนสมาชิกในครอบครัว ทำให้ไม่สามารถนำมาหาค่าทางสถิติได้ การเลือกกลุ่มตัวอย่างแล้วทำการสุ่ม ไม่มีสตรีที่หมดประจำเดือนหรือไปทำงาน ทำให้กลุ่มตัวอย่างที่พบมีอาชีพค้าขายหรือแม่บ้านเป็นส่วนใหญ่ จำนวนผู้สัมภาษณ์น้อยและเวลาในการวิจัยค่อนข้างน้อย ทำให้กลุ่มตัวอย่างมีจำนวนน้อย

วิจารณ์งานวิจัย Bias ( recall bias, information bias, non-response bias ) กลุ่มตัวอย่างที่มีอายุมาก อาการหมดประจำเดือนกับอาการของผู้สูงอายุแยกกันได้ยาก ข้อมูล ที่จะเป็นการวิเคราะห์อาการหมดประจำเดือนเป็นการวิเคราะห์เพียงด้านเดียว ไม่ได้วิเคราะห์ถึงอาการก่อนหมดประจำเดือน ข้อมูลเป็นตัวแทนที่ไม่ค่อยดีในประชากรทั้งหมด

ประโยชน์การวิจัย แ นำไปสู่การรักษาและป้องกัน แ ตระหนักถึงอาการที่เป็นปัญหา แ นำไปสู่การรักษาและป้องกัน แ เตรียมพร้อมในภาวะการหมดประจำเดือน แ ส่งเสริมการดำเนินชีวิต แ สนับสนุนการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง

ข้อเสนอแนะ END ควรส่งเสริมสุขภาพสตรีวัยหมดประจำเดือนในเชิงรุก จัดโปรแกรมการตรวจสุขภาพสตรีวัยหมดประจำเดือนในชุมชน ค้นหาโรคที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดสูงในสตรีวัยหมดประจำเดือน ควรส่งเสริมการจัดชมรมหรือกลุ่มวัยทองในชุมชน ควรส่งเสริมให้มีการตรวจสุขภาพประจำปี ควรเจาะลึกถึงพฤติกรรมสุขภาพ END