การศึกษาอาการและแนวทางแก้ไขของสตรีวัยหมดประจำเดือน ใน เขตเทศบาลนครพิษณุโลก 22 - 27 กรกฎาคม 2543
หลักการและเหตุผล ผู้หญิงแบ่งช่วงชีวิตออกเป็น 3 ช่วงชีวิต วัยเด็ก วัยเจริญพันธุ์ วัยหมดประจำเดือน การสำรวจของสหรัฐอเมริกา สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาและเศรษฐกิจแห่งชาติ
หลักการและเหตุผล การดูแลอนามัยสตรีวัยหลังเจริญพันธุ์ใน จ.แพร่ กลุ่มตัวอย่าง 305 คน ระยะเวลา ธันวาคม 2541 - มีนาคม 2542 ภาวะหมดระดูที่พบมากที่สุด คะแนนเจตคติและการดูแลตัวเอง อยู่ในระดับสูง ความสัมพันธ์กับการดูแลตนเอง ข้อเสนอแนะการวิจัย
วัตถุประสงค์ I II III เพื่อศึกษาอาการและการรักษาที่พบมาก ของสตรีวัยหมดประจำเดือน II เพื่อศึกษาโรคที่พบมากในสตรีวัยหมด ประจำเดือน III เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรักษา กับลักษณะของสตรีวัยหมดประจำเดือน
รูปแบบของงานวิจัย ศึกษาสตรีวัยหมดประจำ เดือนอายุ 40 - 59 ปี สถานที่ในเขตเทศบาลนครพิษณุโลก สุ่มตัวอย่าง 137 คน CLUSTER SAMPLING วิจัยแบบ CROSS-SECTIONAL DESCRIPTIVE STUDY ระหว่างวันที่ 22-27 ก.ค 43 MENOPAUSE?
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 2 1 N 3
นิยามศัพท์ในการวิจัย สตรีวัยหมดประจำเดือน การรักษา ลักษณะของสตรีวัยหมดประจำเดือน โรคประจำตัว อาการหมดประจำเดือน สวัสดิการทางสุขภาพ
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย INTERVEIW QUESTIONNAIRE ANALYSIS
ผลการศึกษา
ลักษณะข้อมูลทั่วไป
ลักษณะข้อมูลทั่วไป
อาการของสตรีวัยหมดประจำเดือน ปวดข้อต่างๆ 78.1 % ปวดหลัง 74.5 % หงุดหงิด 67.9 % เหนื่อยง่าย 66.4 % ปวดศีรษะ 63.5 % ปวดกล้ามเนื้อ 63.5 % หมายเหตุ %ของกลุ่มตัวอย่าง
CLINIC แสดงผู้มารับบริการที่คลินิก
การรักษา
วิจารณ์งานวิจัย แบบสอบถามมีข้อผิดพลาดตรงที่ผู้วิจัยไม่ได้ออกแบบเพื่อใส่ค่าเป็นตัวเลขของรายได้ครอบครัว ,จำนวนบุตรมีชีวิต และจำนวนสมาชิกในครอบครัว ทำให้ไม่สามารถนำมาหาค่าทางสถิติได้ การเลือกกลุ่มตัวอย่างแล้วทำการสุ่ม ไม่มีสตรีที่หมดประจำเดือนหรือไปทำงาน ทำให้กลุ่มตัวอย่างที่พบมีอาชีพค้าขายหรือแม่บ้านเป็นส่วนใหญ่ จำนวนผู้สัมภาษณ์น้อยและเวลาในการวิจัยค่อนข้างน้อย ทำให้กลุ่มตัวอย่างมีจำนวนน้อย
วิจารณ์งานวิจัย Bias ( recall bias, information bias, non-response bias ) กลุ่มตัวอย่างที่มีอายุมาก อาการหมดประจำเดือนกับอาการของผู้สูงอายุแยกกันได้ยาก ข้อมูล ที่จะเป็นการวิเคราะห์อาการหมดประจำเดือนเป็นการวิเคราะห์เพียงด้านเดียว ไม่ได้วิเคราะห์ถึงอาการก่อนหมดประจำเดือน ข้อมูลเป็นตัวแทนที่ไม่ค่อยดีในประชากรทั้งหมด
ประโยชน์การวิจัย แ นำไปสู่การรักษาและป้องกัน แ ตระหนักถึงอาการที่เป็นปัญหา แ นำไปสู่การรักษาและป้องกัน แ เตรียมพร้อมในภาวะการหมดประจำเดือน แ ส่งเสริมการดำเนินชีวิต แ สนับสนุนการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง
ข้อเสนอแนะ END ควรส่งเสริมสุขภาพสตรีวัยหมดประจำเดือนในเชิงรุก จัดโปรแกรมการตรวจสุขภาพสตรีวัยหมดประจำเดือนในชุมชน ค้นหาโรคที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดสูงในสตรีวัยหมดประจำเดือน ควรส่งเสริมการจัดชมรมหรือกลุ่มวัยทองในชุมชน ควรส่งเสริมให้มีการตรวจสุขภาพประจำปี ควรเจาะลึกถึงพฤติกรรมสุขภาพ END