บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย สิงหาคม 2552
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
เศรษฐศาสตร์แรงงาน ศ. 471 สหภาพแรงงาน
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายได้ของผู้บริโภค
เศรษฐกิจในชีวิตประจำวัน
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
ส่วนเกินของผู้บริโภค (consumer surplus)
การประยุกต์ 1. Utility function
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
อุปสงค์ อุปทาน และ การกำหนดราคา Applications
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
Revision Problems.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
รศ.ดร. ชวินทร์ ลีนะบรรจง
Q1. การที่ Supply เลื่อนระดับดังภาพ เกิดขึ้นเนื่องจากสาเเหตุใดบ้าง ?
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิต (Cost of Production)
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 1 บทนำ เศรษฐศาสตร์คืออะไร เศรษฐศาสตร์จุลภาคและเศรษฐศาสตร์มหภาค
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
พฤติกรรมผู้บริโภค.
ตลาดและการแข่งขัน.
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
ภาพรวมการตลาด ความหมายของการตลาด และ ตลาด ระบบตลาด แนวคิดทางการตลาด
การวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
4.3 ความล้มเหลวของตลาด (Market Failure)
เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรน้ำ
บทที่ 8 รายรับและกำไรจากการดำเนินธุรกิจ
โครงสร้างต้นทุน บทที่ 8 การตั้งราคาโดยพิจารณาจากต้นทุน
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
Demand in Health Sector
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
ต้นทุนการผลิต.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ตลาด ( MARKET ).
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
ทฤษฎีการผลิต.
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน สำหรับนิสิตปริญญาโท คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 8 กุมภาพันธ์ 2546 โดย รศ.ดร.ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์

เค้าโครง • อุปสงค์ ,อุปทาน และระบบตลาด • Public goods, Externality • การลงทุน • เศรษฐศาสตร์สวัสดิการ

อุปสงค์ (Demand) คือ เส้นแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความต้องการและราคาสินค้า ทั้งนี้กำหนดให้ปัจจัยอื่นๆ คงที่ Demand Function D = f (price,income,price of substitutes,taste,…) ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อปริมาณความต้องการ • ราคา • ราคาสินค้าทดแทน • รายได้ • รสนิยม • อื่นๆ

P D" D D' Q

Q = ปริมาณ P = ราคา Y = รายได้ ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ แสดงว่า การตอบสนองของปริมาณอุปสงค์ต่อราคา/รายได้หรือตัวแปรอื่นๆ P . dQ Q dP Q = ปริมาณ P = ราคา Y = รายได้ Y . dQ Q dY

P Inelastic Q

P Elastic Q

แยกแยะระหว่าง อุปสงค์ส่วนบุคคล (Individual demand curve) กับ อุปสงค์ของตลาด (Market demand curve) P Q P Q ความต้องการน้ำมันเชื้อเพลิงระดับปั๊มน้ำมัน ปริมาณจำหน่ายน้ำมันเชื้อเพลิงในตลาด

ที่มาของอุปสงค์ Max U = U (p1…pn,x1…xn,Y) pixi = income จุดดุลยภาพ Indifference Curve เส้นงบประมาณ

อุปทาน (Supply) สะท้อนพฤติกรรมของผู้ผลิต คือ แสดงความต้องการผลิต/จำหน่ายสินค้า ณ ระดับราคาต่างๆ ปริมาณ

ที่มา คือ ผู้ผลิต ต้องการแสวงหากำไร กำไร = รายรับ - ต้นทุน = PQ - C(Q) = P + Q.dP - dC เงื่อนไข คือ dQ dQ MR = MC

ต้นทุน (Cost). C = ต้นทุนคงที่ + ต้นทุนแปรผัน. C = g [Q(W,L)] ต้นทุน (Cost) C = ต้นทุนคงที่ + ต้นทุนแปรผัน C = g [Q(W,L)] ผลผลิตขึ้นอยู่กับปัจจัยการผลิต (L) และราคาปัจจัยการผลิต (W) TC Variable Cost Fixed Cost

เส้นอุปทาน การตอบสนอง (elasticity) Inelastic supply P P Elastic supply Q Q

ตลาด ,จุดดุลยภาพ P S ราคาที่ ดุลยภาพ D Q ปริมาณที่ดุลยภาพ

การปรับตัวของตลาด S P S' D' P S D Q D Q

Excess Demand ,Excess Supply Q S D อุปทานส่วนเกิน อุปสงค์ส่วนเกิน S>D D>S

Public Goods, Collective Goods สินค้าสาธารณะ คือ สิ่งที่คนจำนวนมากใช้ร่วมกันได้ โดยไม่มีผลรบกวน ซึ่งกันและกัน เช่น สะพาน ถนน การชมพลุ การป้องกันโรคติดต่อ คุณสมบัติ 1. Nonrivalness in consumption 2. Excludability, (Difficult to exclude)

Demand for Public Goods ต่างจากสินค้าเอกชน Q Q Q P A+B+C A B C Q

จากตัวอย่างข้างต้น A,B,C ต้องการสินค้าอย่างเดียวกันและร่วมกันใช้ได้ ดังนั้น รวมตัวกันซื้อ ไม่ต้องต่างคนต่างทำ แต่ปัญหา คือ การรวมตัวกันได้อย่างไร ซึ่งเป็นเรื่องยากพอสมควร จะเฉลี่ยต้นทุนกันอย่างไร ปัญหาคือ บุคคลอาจจะไม่เปิดเผยความต้องการที่แท้จริง (ต้องการ แต่บอกว่าไม่ต้องการ) พฤติกรรมเช่นนี้เรียกว่า Free-Ride

สินค้าสาธารณะ ไม่จำเป็นต้องดำเนินการโดยรัฐ อาจจะเกิดขึ้นได้จากการรวมกันของประชาชน ถ้าหากว่ามีผลประโยชน์มากพอเพียง และมีวิธี social sanction ให้มารวมกันได้ ไม่เกิดการกินแรงกัน แต่ส่วนใหญ่ภาครัฐเป็นผู้ดำเนินการ

สินค้าสโมสร (Club Goods) collective consumption อย่างหนึ่ง เกิดจากการรวมกลุ่มเป็นชมรม (เช่น หมู่บ้าน) มีบริการสาธารณะเช่น สนามกีฬา สระว่ายน้ำ ให้บริการแก่สมาชิก แต่กีดกันบุคคลภายนอก ลักษณะ Joint Consumption, Exclude สำหรับคนนอก

ข้อจำกัด การจัดเก็บเงินในหมู่บ้าน มีปัญหา free-ride บางคนไม่ยอมให้ความร่วมมือ มี optimum size ของการให้บริการ การเพิ่มสมาชิก - อรรถประโยชน์อาจจะลดลง เกิดปัญหา Congestion cost ถึงแม้ว่าค่าบริการอาจจะลด ลักษณะ Joint Consumption, Exclude สำหรับคนนอก

ผลกระทบภายนอก (externality) มีผลบิดเบือนการตัดสินใจของบุคคล (ผู้บริโภค ผู้ผลิต) เช่น โรงงานปล่อยน้ำเสีย - เกิดต้นทุนภายนอกต่อสังคม แต่ว่าโรงงานถือว่าไม่ใช่ธุระ Marginal Cost ที่โรงงานนี้พิจารณา จะต่ำกว่าความเป็นจริง social marginal cost, negative externality Positive externality กิจกรรมของคนหนึ่งมีผลทางบวกต่อคนอื่นๆ private benefit < social benefit

ปัญหาของผลกระทบภายนอก ดุลยภาพ การตัดสินใจของบุคคล (ผู้บริโภค ผู้ผลิต) ตามสภาพเป็นจริง อาจจะสูงกว่า (หรือต่ำกว่า) ขนาดที่เหมาะสม (optimum size) เพราะบุคคลคำนึงถึง private marginal benefit = private marginal cost แต่ว่าจุดที่เหมาะสม Optimum; social marginal benefit = social marginal cost

นี้คือเหตุผลสนับสนุนให้รัฐแทรกแซง (government intervention) แนวคิด/ตัวอย่าง รัฐจัดเก็บภาษีมลพิษ เพื่อทำให้ต้นทุนภายนอก กลับกลายเป็นต้นทุนภายในของโรงงาน ทำให้ private marginal benefit = private marginal cost + tax A.C. Pigou นักเศรษฐศาสตร์ชาวอังกฤษ ราวปี 1920