ศิลปะเนื่องในศาสนาพราหมณ์ ที่พบระหว่างพุทธศตวรรษที่ ๑๒-๑๔

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ขนมไทย เสนอ อาจารย์ มานะ ผิวผ่อง จัดทำโดย
Advertisements

พระบรมธาตุ มรดกธรรมนำสู่มรดกโลก
อาณาจักรสุโขทัย.
ศาสนาเชน นักอหิงสาต่อความศักดิ์สิทธิ์ของชีวิต
พระพุทธศาสนาแห่งทวารวดี (พศต )
พระพุทธศาสนาในฟูหนำ ( พศต )
เรียบเรียงโดย อ.พลอยชนก ปทุมานนท์
รายงาน เรื่อง การเเต่งกายสมัยอยุธยา 6.ธีรพล เศรษฐี เลขที่4
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มน้ำสินธุ
วัฒนธรรมของประเทศอินโดนีเซีย
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยลุ่มธรรมแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
วัฒนธรรมในอาเซียน (ประเทศกัมพูชา)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
สอนโดย อาจารย์ขวัญตา จั่นอิ๊ด โทร
จิตรกรรม จิตรกรรมสมัยสุโขทัย ส่วนใหญ่เล่าเรื่องทางศาสนาเป็นลักษณะการเขียนภาพแบบอุดมคติ เช่น ภาพอดีตพุทธเจ้า ประทับยืนเรียงรายเป็นแถว แต่ละองค์คั่นสลับด้วยภาพบุคคลชั้นสูงประทับอัญชลี
สรุปย่อสำหรับประกอบการสอน
สัปดาห์ที่ 7 : ศิลปะขอมในประเทศไทย (สถาปัตยกรรม)
ประติมากรรม พระพุทธรูป พระพุทธรูปสมัยสุโขทัย อาจแบ่งออกได้เป็น
ความหมายของวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ
ตำแหน่งที่ตั้งของบ้านเมืองฟูนัน
ประวัติพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาเกิดที่ประเทศอินเดีย ก่อนพุทธศักราช ๔๕ ปี เกิดหลังศาสนาพราหมณ์ ๖๐๐ ปี ก่อนศาสนาคริสต์ ๕๔๓ ปี ก่อนศาสนาอิสลาม ๑,๑๒๔.
บุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์ชาติไทย
นางสาว โศจิรัตน์ หลงอุย เลขประจำตัว คณะศึกษาศาสตร์
เครื่องใช้ - เครื่องประดับ
สมัยเมืองพระนคร (ราวกลางพุทธ ศตวรรษที่ )
สมัยโคะฟุน.
สมัยนาระ.
การนับถือศาสนาในราชอาณาจักรกัมพูชา
จัดทำโดย ด.ญ.ทิพย์จิรา เอี่ยมวิจารณ์ ชั้นป.4/3 เลขที่ 41
วันพุธที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๕๕ เวลา ๑๔. ๐๐ น. ณ ห้องประชุมวัดรา ชคฤห์ วันพุธที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๕๕ เวลา ๑๔. ๐๐ น. ณ ห้องประชุมวัดรา ชคฤห์ ไมตรี อินทุสุต ผู้ว่าราชการจังหวัด.
ของที่ระลึกของประเทศไทย
จังหวัดปราจีนบุรี คำขวัญประจำจังหวัด
กลุ่มประเทศเอเชียใต้กับความมั่นคงแห่งชาติของประเทศไทย หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ปีการศึกษา (วปอ.) รุ่นที่ 51.
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
พัฒนาการของประถมศึกษาไทยสมัยธนบุรี
แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดสกลนคร
ศิลปกรรมที่เกิดขึ้นในอินเดีย
สังคมศึกษา ศาสา และวัฒนธรรม จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดย
ทักษะและเทคนิคการสอน Teaching Skills and Techniques
เพื่อนบ้านอาเซียน ประเทศพม่า
ความรู้เกี่ยวกับวรรณกรรม
จดหมายเหตุของภิกษุจีนชื่อ เหี้ยนจั๋ง หรือ พระถังซัมจั๋ง (Hieun Tsing) ซึ่งเดินทางจากเมืองจีนไปประเทศอินเดียทางบก ราว พ.ศ – 1188  และพระภิกษุจีนชื่อ.
สาระการเรียนรู้ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
ภูมิภาคเอเชียใต้ มีรูปร่างเป็นรูปสามเหลี่ยม มีลักษณะเหมือนรวงผึ้งที่มีน้ำผึ้งกำลังหยด ประกอบด้วย 7 ประเทศ โดยตั้งอยู่บนภาคพื้นทวีป 5 ประเทศ คือ อินเดีย.
ข. ประเภทตำนาน-พงศาวดารท้องถิ่น
กรุงศรีอยุธยา.
โรงเรียน เทศบาล 2 (บ้านหาดใหญ่) วัฒนธรรมไทยในปัจจุบัน
เรื่องน่ารู้จากพระไตรปิฎก
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
จัดทำโดย นายธีรภัทร บัวเนียม เสนอต่อ อาจาร์ยสมคิด มีมะจำ
พระพุทธศาสนาสมัยสุโขทัย
สถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดลำพูน จัดทำโดย ด.ญ.ธวัลรัตน์ ศรีวรรณา ชั้น ม.1/4 เลขที่ 17 เสนอ คุณครูอรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
โดย รองศาสตราจารย์จารุพรรณ ทรัพย์ปรุง คลิกเม้าส์เพื่อเปิดหน้า 2
2. พระพุทธ ศาสนาเถรวาทสายพุกาม เข้ามา ในช่วง พ. ศ. ๑๖๐๐ สายนี้เข้ามาสู่ไทยด้วย อิทธิพลของพระเจ้าอนุรุธมหาราช ผู้ได้ อำนาจในพม่าและตั้งเมืองหลวงขึ้นที่เมือง.
หัวเรื่องสำหรับหนังสือภาษาไทย สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐศาสตร์ การเมือง
หน้าหลัก สมาชิก ประเพณีของภาคเหนือ ประเพณีของภาคกลาง
บทที่ ๔ ผลกระทบของวัฒนธรรมต่างชาติ ต่อวัฒนธรรมไทย
ด.ช ปวริศร เป็นพนัสสัก ม.2/6 เลขที่31
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
ครูจงกล กลาง ชล 1. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง วิเคราะห์ เปรียบเทียบ เหตุการณ์ใน ประวัติศาสตร์ไทย ที่แสดงถึง ความสัมพันธ์ใน ความต่อเนื่อง ของเวลาได้ 2.
ครูจงกล กลางชล 1. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รู้และเข้าใจเกี่ยวกับ สภาพแวดล้อมทางสังคม และวัฒนธรรม 2.
 1. นักเรียนศึกษาคำถามเพื่อศึกษาค้นคว้าตาม ประเด็นต่อไปนี้ 1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบบริเวณใดของ โลก 1.2. อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีความเจริญจาก อดีตถึงปัจจุบันจริงหรือ.
  1. นักเรียนศึกษาคำถามเพื่อศึกษาค้นคว้าตามประเด็น ต่อไปนี้  1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบบริเวณใดของโลก  1.3. สิ่งใดที่บ่งบอกความเจริญของอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศิลปะเนื่องในศาสนาพราหมณ์ ที่พบระหว่างพุทธศตวรรษที่ ๑๒-๑๔ (เทวรูปรุ่นเก่า)

คำจำกัดความของเทวรูปรุ่นเก่า เป็นศิลปกรรมที่สร้างขึ้นเนื่องในศาสนาพราหมณ์ ซึ่งยังคงรักษารูปแบบของศิลปะอินเดียไว้ได้ พบมากในภาคกลางและภาคใต้ของประเทศไทย ดังนั้นความเป็นจริงจึงเป็นของที่ร่วมอยู่ในสมัยทวารวดีและสมัยศรีวิชัย หากพบในภาคกลางถือได้ว่าเป็นของเนื่องในศาสนาพราหมณ์ของสมัยทวารวดี หากพบทางภาคใต้ถือว่าเป็นของเนื่องในศาสนาพราหมณ์ของสมัยศรีวิชัย

เทวรูปรุ่นเก่าที่พบจากภาคกลางของประเทศไทย (ศิลปะสมัยทวารวดี แต่สร้างขึ้นเนื่องในศาสนาพราหมณ์)

ส่วนใหญ่สะท้อนถึงอิทธิพลอินเดีย เช่น การสวมกิรีฏมกุฏของพระวิษณุ การยืนตริภังค์ของเทวรูปบางองค์ อาจมีความสัมพันธ์กับเทวรูปที่พบทางภาคใต้ของประเทศไทย บางครั้งสะท้อนให้เห็นถึงอิทธิพลจากอาณาจักรเขมร เช่น การนุ่งผ้าโจงกระเบน มีความเป็นตัวของตัวเองอย่างยิ่ง เช่น เทคนิคการสลัก

พระวิษณุ จากเมืองศรีเทพ จ.เพชรบูรณ์

พระวิษณุจากเมืองศรีเทพ จ.เพชรบูรณ์ พระวิษณุจากเมืองศรีเทพ จ.เพชรบูรณ์

พระกฤษณะ จากเมืองศรีเทพ จ.เพชรบูรณ์

พระสูรยะ จากเมืองศรีเทพ จ.เพชรบูรณ์