โพรโทซัว( Protozoa )
- จัดอยู่ใน Animal Kingdom - เป็นพวกสัตว์ชนิดหนึ่ง Protozoa - จัดอยู่ใน Animal Kingdom - เป็นพวกสัตว์ชนิดหนึ่ง - ประกอบด้วย cell เพียง cell เดียว ภายในมี cell organ ทำหน้าที่ต่างๆ
- บางชนิดมองเห็นด้วยตาเปล่า - บางชนิดต้องใช้กล้องจุลทรรศน์ - บางชนิดดำรงชีวิตแบบอิสระ ( free living ) พบได้ทั่วไปในธรรมชาติ บางชนิดเป็นปรสิต จึงมี โพรโทซัวหลายชนิดที่มีความสำคัญทางการแพทย์
ความสำคัญของโพรโทซัวทางการแพทย์ 1. เป็นสาเหตุของโรคโดยตรง 2. ผู้ป่วยที่ไม่ได้รับการรักษาที่ถูกวิธีจะก่อให้เกิดอันตรายรุนแรงถึงเสียชีวิตได้ 3. รักษาให้หายขาดได้ยากกว่าเชื้อปรสิตอื่นๆ(เนื่องจากบางตัวเป็น normal flora )
4. วินิจฉัยโรคได้ลำบาก โดยเฉพาะรายที่ มีปรสิตไม่มาก 5. โพรโทซัวบางตัวเพิ่มจำนวนในร่างกายของคนได้มาก ทำให้เกิดอาการของโรครุนแรง 6. โพรโทซัวบางชนิดปรับตัวต้านยารักษา ทำให้เกิดปัญหาในการรักษามาก
7. Free living โปรโตซัวบางชนิด สามารถทำให้เกิดโรครุนแรง เมื่อบังเอิญเข้าสู่ร่างกายคน
Morphology and Biology - ขนาดแตกต่างกันไป แต่ใน species เดียวกันจะใกล้เคียงกัน - การดำรงชีวิตมีทั้งแบบอิสระ(free living) และแบบปรสิต - มีอวัยวะในการเคลื่อนไหว ( locomotor organelles ) 3 แบบ คือ
2. Flagella 3. Cilia อวัยวะในการเคลื่อนที่ สามารถใช้ 1. Pseudopodia 2. Flagella 3. Cilia อวัยวะในการเคลื่อนที่ สามารถใช้ แบ่งกลุ่ม โพรโทซัวได้
- รูปร่างของโพรโทซัว ไม่แน่นอน - โครงสร้างของโพรโทซัวเป็นแบบ Eukaryotic type ลักษณะโดยทั่วไป ประกอบด้วย 2 ส่วนใหญ่ๆ 1. Cell covering เป็นส่วนที่หุ้มห่อส่วนที่เป็นเนื้อของเซลล์
2. Protoplasm มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็น protein lipid carbohydrate และ inorganic salts แบ่งได้เป็น 2 ส่วน คือ 2.1 Cytoplasm 2.2 Nucleus
Cytoplasm - หมายถึง ส่วนทั้งหมดของ protoplasm ยกเว้น nucleus แยกออกเป็น 1. Ectoplasm - เป็นเนื้อรอบๆ cell - เป็น origin of locomotor organ - ช่วยเกี่ยวกับ metabolism
- มีลักษณะหนืดกว่า Ectoplasm - ภายใน เป็นที่อยู่ของ organelles 2. Endoplasm - มีลักษณะหนืดกว่า Ectoplasm - ภายใน เป็นที่อยู่ของ organelles ต่างๆ ได้แก่ Food vacuoles , Mitochondria , Ribosome , Golgi bodies และ Lysosome เป็นต้น
Nucleus เป็นส่วนที่หนาทึบ มีสาร Nuclein เป็นองค์ประกอบ เป็นส่วนที่สำคัญที่สุด ของ cell ทำหน้าที่เกี่ยวกับ metabolism และ reproduction
- มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น (double nuclear membrane) - กรดดีออกซีไรโบนิวคลีอิก(deoxyribonucleic acid - DNA ) รวมกับ Histone เป็น Chromosome - กรดไรโบนิวคลีอิก ( ribonucleic acid - RNA ) รวมตัวเป็น nucleolus หรือ karyosome - ในพวกแฟกเจลเลต พบก้อนในนิวเคลียสเรียกว่า endosome ( ซึ่งคาดว่าเป็น nucleolus )
แบ่งออกเป็น 2 แบบคือ Asexual และ Reproduction แบ่งออกเป็น 2 แบบคือ Asexual และ Sexual reproduction 1. Asexual reproduction - เป็นการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ คือไม่ เกิด sex cell ขึ้นเลยตลอดช่วงเวลาการ แบ่งตัว
แบ่งได้เป็นหลายแบบ คือ 1.1 Binary fission 1.2 Multiple fission หรือ Schizogony วิธีนี้มีการแบ่ง nucleus ก่อนแล้วจึง แบ่ง cytoplasm
1.3 Budding 1.4 Plasmotomy เป็นการแบ่ง cell ของ multinucleated cell โดยเกิด budding แต่ยังคงมี multinucleated เกิดขึ้นกับ daughter cells
2. Sexual reproduction สืบพันธุ์โดยการเกิด sex cells 2.1 Conjugation - เป็นการแลกเปลี่ยน gamate ระหว่างโพรโทซัว 2 ตัว โดยโพรโทซัว 2 ตัวจะเข้ามาชิดกันและแยกออกจากกันหลังจากแลกเปลี่ยน gamate กันแล้ว
2.2 Gametogony หรือ Sporogony - เป็น Syngamy คือมีการรวม gamate กัน
Life cycle - ระยะของโพรโทซัว แบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ - ระยะของโพรโทซัว แบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ Trophozoite stage ระยะที่เป็น Trophozoite Encysted stage ระยะที่เป็น cyst
พบว่าโพรโทซัวอาจมีการสืบพันธุ์แบบ สลับ (Alternation) โดยมี Asexual reproduction (Schizogony) และ Sexual reproduction (Gametogony)
จากวงชีวิตลักษณะนี้ทำให้เกิดศัพท์เกี่ยวกับปรสิตดังนี้ Heterogenetic หมายถึง พวกที่ต้องการการสืบพันธุ์แบบสลับ Monogenetic หมายถึง พวกที่ต้องการการสืบพันธุ์แบบเดียว Monoxenous หมายถึง พวกที่ต้องการโฮสท์เพียงตัวเดียว
Heteroxenous หมายถึง พวกที่ต้องการโฮสท์มากกว่า 1 ตัว Stenoxenous หมายถึง พวกที่มีความเฉพาะเจาะจงต่อโฮสท์มาก ( Host lenght แคบ ) Euryxenous หมายถึง พวกที่มีความเฉพาะเจาะจงต่อโฮสท์น้อย ( Host lenght กว้าง )