การจำแนกประเภทอุบัติเหตุของไอแอลโอ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ห้อง ฉุกเฉิน ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
Advertisements

ทำให้เป็นเกลียว (Roving)
Conductors, dielectrics and capacitance
บทที่ 8 Power Amplifiers
การลดปัจจัยเสี่ยงทางกายภาพและการยศาสตร์
ค่ารักษาพยาบาล 1. เท่าที่จ่ายจริงและจำเป็น ไม่เกินวงเงิน 45,000 บาท
การสั่งการออกกำลังกาย (EXERCISE PRESCRIPTION)
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
เรื่องการฟุ้งกระจายของสารเคมีในอากาศ
ภาวะโลกร้อน จัดทำโดย 1. ด.ช. ศักดิ์ดา โนนน้อย เลขที่ ด.ช. ณัฐชนน วงศ์สุริยา เลขที่ ด.ญ. มินตรา เสือภู่ เลขที่ ด.ญ. วราภรณ์ คอบุญทรง เลขที่
การทบทวนโดยฝ่ายบริหาร
N กลุ่ม E ACTION S.
แผ่นดินไหว.
การใช้แรงงานหญิงและเด็ก
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
Fuel cell Technology  เซลล์เชื้อเพลิง.
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
หลักความปลอดภัยในการสร้างฉาก
รู้จัก...ก๊าซหุงต้ม (LPG)...ให้มากขึ้น...
อุบัติเหตุและวิธีป้องกัน
คณะคุรุศาสตร์อุตสาหกรรม วิทยาลัยเทคนิคมหาสารคาม
ควบคุมโรคจากแมลงพาหะ
ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง กำหนดขนาด จำนวน และคุณภาพของเครื่องดับเพลิงสำหรับรถที่ใช้ในการขนส่งสัตว์หรือสิ่งของ ลักษณะ 4 (รถบรรทุกวัสดุอันตราย) พ.ศ.
กฎหมายเกี่ยวกับการขนส่ง
การคำนวณค่าไฟฟ้า.
หลักการประหยัดพลังงาน และเครื่องมือวัดการใช้พลังงาน
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
เครื่องใช้ไฟฟ้า...ภายในบ้าน
อุตสาหกรรมฟอกหนัง ผลิตภัณฑ์จากหนัง งานตกแต่ง สี ขัด อัดหนัง
อุตสาหกรรมหล่อหลอมโลหะ
อุตสาหกรรมผลิตผลิตภัณฑ์จากกระดาษ
v v v v อุตสาหกรรมผลิตรองเท้า
v v v v อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์โลหะและการปั๊มโลหะ
อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม การแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์
v v v อุตสาหกรรมผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องเรือน เครื่องใช้ไม้
อุตสาหกรรม การไส อาบน้ำยาไม้ อบ ผลิตไม้บาง
ผลิตเป็นเม็ดพลาสติกสี
อุตสาหกรรมผลิต ประกอบชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิคส์ - ไฟฟ้า
v v อุตสาหกรรมขนส่งสินค้า ผู้โดยสารทางรถยนต์
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
การเป็นลมและช็อก.
การตรวจชีพจรและวัดความดันโลหิต
การช่วยเหลือผู้จมน้ำ
งานเครื่องยนต์ แก๊สโซลีน
ภาค 2 การป้องกันอุบัติเหตุ
การใช้นั่งร้านอย่างปลอดภัย
ซ่อมเสียง.
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
ความปลอดภัยในการทำงาน
“การผลิตถังบรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวสำหรับเครื่องยนต์สันดาปภายใน”
ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์
Major General Environmental Problems
หน่วยการเรียนที่ 1 ความปลอดภัยทั่วไป.
วิชา งานฝึกฝีมือ( ) เวลาเรียน 6 ชม
Module 6 ศัพท์และนิยามที่เกี่ยวข้องกับความเสียหาย
อุบัติเหตุจากการทำงาน
กฎหมายเกี่ยวกับการขนส่ง
โดย สถานีพัฒนาอาหารสัตว์สุพรรณบุรี
"ประกาศกรมการขนส่งทางบกเรื่อง กำหนดประเภทหรือชนิดและลักษณะการบรรทุกวัตถุอันตรายที่ผู้ขับรถต้องได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ขับรถ ชนิดที่ 4 พ.ศ. 2553" ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง การ ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยอย่าง อื่นซึ่งรุนแรงหรือเรื้อรัง พ. ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง การประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยอย่างอื่นซึ่งรุนแรงและเรื้อรัง พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 22 กุมภาพันธ์ 2549.
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 กฎกระทรวง กำหนดอัตราค่ารักษาพยาบาลที่ให้นายจ้าง จ่าย พ. ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 20 กุมภาพันธ์ 2558.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจำแนกประเภทอุบัติเหตุของไอแอลโอ (ILO : International Labour Organization)

I. ประเภทของอุบัติเหตุจำแนก ตามชนิดของอุบัติเหตุ 1. การพลัดตกของคนงาน 2. การถูกวัสดุหล่นทับ 3. การถูกชนเฉี่ยวกระแทกโดยวัสดุทุกชนิดยกเว้น จากการหล่น 4. การถูกหนีบหรือจับเข้าไว้ระหว่างวัตถุ 2 ชิ้น

5. การออกแรงเกินกำลัง 6. การสัมผัสกับอุณหภูมิสูงหรือต่ำเกินไป 7. การสัมผัสกับกระแสไฟฟ้า 8. การสัมผัสกับสารพิษหรือการรับการแผ่รังสีต่าง ๆ 9. อุบัติเหตุชนิดอื่น ๆ ที่มิได้เข้าชนิดตามที่ระบุไว้ ในข้อ 1 ถึงหัวข้อที่ 8

II. ประเภทของอุบัติเหตุจำแนกตามตัวการเกิดอุบัติเหตุ 1. เครื่องจักรกล 1.1 เครื่องต้นกำลังต่าง ๆ ยกเว้นมอเตอร์ไฟฟ้า 1.2 อุปกรณ์ส่งถ่ายกำลังกล 1.3 เครื่องขึ้นรูปโลหะ

1.4 เครื่องจักรกลงานไม้ 1.5 เครื่องจักรกลการเกษตร 1.6 เครื่องจักรกลเหมืองแร่ 1.7 เครื่องจักรกลอื่น ๆ ที่มิได้ระบุเอาไว้ ในข้างต้น

2. วัสดุอุปกรณ์ในการขนถ่ายและยกวัสดุ 2.1 รถยกและเครื่องยกต่าง ๆ 2.2 รถหรือล้อที่มีรางเลื่อน 2.3 ล้อเลื่อนอื่น ๆ ที่ไม่แล่นบนรางเลื่อน 2.4 พาหนะขนส่งทางอากาศ 2.5 พาหนะขนส่งทางน้ำ 2.6 พาหนะขนส่งอื่น ๆ

3.1 ภาชนะบรรจุความดันสูง 3.2 เตาหลอม เตาเผา เตาอบ ฯลฯ 3. เครื่องจักรกลและอุปกรณ์อื่น ๆ 3.1 ภาชนะบรรจุความดันสูง 3.2 เตาหลอม เตาเผา เตาอบ ฯลฯ 3.3 ระบบเครื่องทำความเย็น 3.4 ระบบไฟฟ้าต่าง ๆ ที่ติดตั้งถาวรยกเว้น เครื่องมือไฟฟ้า

3.5 เครื่องมือไฟฟ้าต่าง ๆ ที่บันไดแบบต่าง ๆ 3.6 เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ ที่ไม่ใช้ไฟฟ้า 3.7 บันไดและล้อเลื่อนทำหน้า 3.8 โครงสร้างและนั่งร้าน 3.9 เครื่องจักรกลอื่น ๆ

4. วัสดุ สารและรังสี 4.1 วัตถุระเบิด 4. วัสดุ สารและรังสี 4.1 วัตถุระเบิด 4.2 ฝุ่นผง แก๊ส ของเหลว สารเคมีต่าง ๆ ยกเว้น วัตถุระเบิด 4.3 วัตถุที่แตกกระจายลอยไปในอากาศ 4.4 รังสีและสารกำมันตภาพรังสี 4.5 สารอื่น ๆ ที่มิได้ระบุไว้

5. สภาพแวดล้อมในการทำงาน 5. สภาพแวดล้อมในการทำงาน 5.1 ภายนอกอาคารโรงงาน 5.2 ภายในอาคารโรงงาน 5.3 ใต้ดิน 6. ตัวการอันตรายอื่น ๆ 6.1 สัตว์มีอันตรายต่าง ๆ 6.2 ตัวการอื่น ๆ ที่มิได้ระบุไว้

III. ประเภทของอุบัติเหตุจำแนกตามลักษณะของ ความบาดเจ็บ 1. เกิดบาดแผล 2. กระดูกเคลื่อน 3. เคล็ดขัดยอก ฟกช้ำบวม 4. การกระทบกระเทือนและบาดเจ็บภายใน 5. ถูกตัดหรือเฉือนเนื้อหรืออวัยวะออกไป

6. บาดแผลอื่น ๆ 7. บาดแผลฉกรรจ์ 8. ถูกอัดกระแทกจนเละ 9. ถูกไฟไหม้ 10. ถูกสารพิษอย่างแรง 11. แพ้สภาวะแวดล้อมในการทำงาน

12. การสลบหมดสติ 13. อันตรายจากกระแสไฟฟ้า 14. อันตรายจากสารกำมันตรังสี 15. ได้รับอันตรายผสมกันจากหลายสาเหตุ 16. อันตรายอื่น ๆ ที่มิได้ระบุเอาไว้

4. ประเภทของอุบัติเหตุจำแนกตามจุดที่เกิดแก่ร่างกาย 1. ศรีษะ 2. คอ 3. ลำตัว 4. แขนช่วงบน 5. แขนช่วงล่าง

6. ขาช่วงบน 7. ปลายขา (ข้อเท้า,ฝ่าเท้า) 8. ความบาดเจ็บทั่วไป 9. ความบาดเจ็บหลายแห่งพร้อม ๆ กัน 10. จุดบาดเจ็บอื่น ๆ ที่มิได้ระบุไว้

การคำนวณอัตราการเกิดอุบัติเหตุ มาตรฐานเปรียบเทียบจำนวนครั้งของอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นต่อเวลาทำงาน 1 ล้าน ชั่วโมง-คนงาน (man-hours of exposure) หน่วยที่ได้เรียก อัตราความถี่ของอุบัติเหตุ (Frequency rate) , F อัตราความถี่ของอุบัติเหตุ (Frequency rate, F) จำนวนครั้งของอุบัติเหตุ x 1,000,000 = จำนวนชั่วโมง - คนงานทั้งหมด

N x 1,000,000 หรือ F = (m-h) โดยที่ N = จำนวนครั้งของอุบัติเหตุ (m-h) = จำนวนชั่วโมง – คนงานทั้งหมด ในช่วงเวลาที่คำนวณ

ตัวอย่าง 50 สัปดาห์ และสัปดาห์ละ 48 ชั่วโมง และมีการ โรงงานแห่งหนึ่งมีคนงาน 500 คน ทำงานปีละ 50 สัปดาห์ และสัปดาห์ละ 48 ชั่วโมง และมีการ ขาดงานของคนงานทั้งสิ้น 5 % เนื่องจากเจ็บป่วย และธุรกิจส่วนตัวในเวลา 1 ปี มีอุบัติเหตุเกิดขึ้น 60 ครั้ง จะมีความถี่ของอุบัติเหตุเป็นเท่าใด

วิธีการคำนวณ จำนวน m - h ใน 1 ปี = 500 x 50 x 48 = 1,200,000 ชั่วโมง-คนงาน . . . มีการขาดงาน 5 % = 1,200,000 - 0.05 (1,200,000) . . . จำนวน (m - h) จริง = 1,200,000 - 60,000 . . . (m - h) = 1,140,000 ชั่วโมง-คนงาน

60 x 1,000,000 จะได้ F = 1,140,000 คำตอบ F = 52.63 ครั้ง/หนึ่งล้านชั่วโมงคนงาน

ค่าความร้ายแรงของอุบัติเหตุ (Severity rate ; S) = จำนวนวันทำงานที่สูญเสีย x 1,000,000 (Severity rate ; S) จำนวนชั่วโมง-คนงานทั้งหมด หรือ DL x 1,000,000 S = (m - h) โดยที่ DL = จำนวนวันทำงานที่สูญเสีย (No. of days lost)

ตัวอย่าง จากตัวอย่างข้างต้น หากสำรวจพบว่า ในจำนวนอุบัติเหตุ 60 ครั้ง ในปีนั้นคิดเป็นเวลา สูญเสียทั้งสิ้น 1,720 วัน จะคิดเป็นค่าความร้ายแรงของอุบัติเหตุเป็นเท่าใด

วิธีคำนวณ จาก S = DL x 1,000,000 (m-h) คำตอบ แทนค่า S = 1,720 x 1,000,000 1,140,000 = 1,508 วัน

ตัวอย่าง จากตัวอย่างที่ (1) และ (2) หากว่าในจำนวนอุบัติเหตุ 60 ครั้ง มีการตายเพิ่มขึ้นอีก 1 ราย จะมีค่าความร้ายแรงของอุบัติเหตุเป็น เท่าใด

วิธีคำนวณ จากตัวอย่าง (2) จำนวนวันทำงานสูญเสีย = 1,720 วัน จากตัวอย่าง (2) จำนวนวันทำงานสูญเสีย = 1,720 วัน การตาย 1 รายถือว่ามีจำนวนวันทำงานสูญเสีย = 6,000 วัน ดังนั้น คิดเป็นจำนวนวันทำงานสูญเสียรวม = 7,720 วัน 7,720 x 1,000,000 ดังนั้น ค่า S = = 6,772 วัน 1,140,000

สรุป เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นเป็นอย่างมาก ขณะที่ค่า F เราพบว่าเมื่อมีการเสียชีวิตเกิดขึ้นค่า S จะ เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นเป็นอย่างมาก ขณะที่ค่า F มีความเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อยเท่านั้น