การผลิตไฟฟ้าจากขยะ โดยการฝังกลบขยะมูลฝอย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชื่อโครงงาน : การอนุรักษ์พลังงานของระบบควบคุมแรงดันน้ำ Inside Outside
Advertisements

โดย วราภรณ์ ถาวรวงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ ศูนย์อนามัยที่๑.
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
สถานการณ์และนโยบายการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ
โครงสร้างรายงานสถานการณ์ พลังงานจังหวัด
ขั้นตอนการเสนอแบบประเมินและพิจารณาโครงการวิจัย
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต Environment Technology and Life
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
10วิธีลดภาวะโลกร้อน จัดทำโดย
ลดโลกร้อน ด้วยมือเรา.
Global warming สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
บทที่ 2 การผลิตและการส่งพลังงานไฟฟ้า.
ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน
Fuel cell Technology  เซลล์เชื้อเพลิง.
การผลิตกระเเสไฟฟ้า จากกังหันลม.
ธนาคารขยะ (Waste Bank).
เทคโนโลยีระบบบำบัดน้ำเสียด้วยพืชกรองน้ำเสีย
อะไรคือ “ไฮบริด”. อะไรคือ “ไฮบริด” ไฮบริด ( hybrid) คือ ระบบการทำงานของเครื่องยนต์ที่ใช้เครื่องยนต์สองระบบทำงานร่วมกัน โดยทั่วไปแล้วหมายถึงการทำงานร่วมกันระหว่างระบบสันดาปภายในที่ใช้น้ำมันเป็นเชื้อเพลิงทำงานร่วมกับระบบมอเตอร์ไฟฟ้า.
SOLAR CHIMNEY (ปล่องลมแสงอาทิตย์)
การจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อม
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ลำดับการนำเสนอ ความหมายและความจำเป็นของเทคโนโลยีสะอาด
มาตรฐานสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
การพัฒนาระบบสารสนเทศ : ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
แผนการขับเคลื่อน พันธะสัญญาคนอีสาน
การกำหนดมาตรฐานอื่นๆ เรื่องโครงสร้างกายภาพ สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
การจัดการน้ำเสียจากฟาร์มสุกร โดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพ
สถานการณ์ แนวโน้มและผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ปัจจุบันทั่วโลกกำลังประสบปัญหากับวิกฤตการณ์ด้านการขาดแคลนพลังงานและปัญาโลกร้อนจากภาวะเรือนกระจกที่ทุกประเทศต้องร่วมกันแก้ไข ที่ผ่านมาการนำพืชอาหารมาใช้เป็นพลังงานทดแทน.
นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร ณ โรงแรมเจริญ โฮเต็ล จังหวัดอุดรธานี
อย่างถูกหลักสุขาภิบาล
ความก้าวหน้าของการจัดการ ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
การศึกษาความเป็นไปได้ FEASIBILITY STUDY
การประชุมชี้แจงรายละเอียด
ความหมายของสิทธิบัตร
สาธารณสุขร่วมใจลดภัยโลกร้อน ภายใต้แนวคิดของกรมอนามัย GREEN & CLEAN
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตาม ยุทธศาสตร์กรมปี 2552 เพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนา ปรับปรุงการทำงาน วันที่ ธันวาคม 2552 ณ ห้องชลาลัย.
วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 1. ระบบประปา 2. ระบบรวบรวมและบำบัดน้ำเสีย
ภาวะโลกร้อน โดย น.ส.สมลักษณ์ แจ่มโฉม รหัส กลุ่ม 10.
หยุดโลกร้อนด้วยชีวิตพอเพียง
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
การจัดการส้วมและ สิ่งปฏิกูลหลังภาวะน้ำลด
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558
สถานการณ์พลังงานของประเทศไทย
มาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบฯ เบื้องต้น
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
การใช้ฝุ่นจากกระบวนการผลิตอาหารสัตว์ เพื่อผลิตแอลกอฮอล์
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
COMMUNITY BASED SOLID WASTE MANAGEMENT
โครงการวิจัย เรื่อง การศึกษาการบริหารจัดการขยะและเทคโนโลยีที่เหมาะสมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน.
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
นโยบายพลังงาน-ปตท. และ ก๊าซCBG(2)
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการจัดระบบบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ พ.ศ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 25 กันยายน 2557.
ความร่วมมือไทย-ลาว ในเรื่อง Contract Farming (CF)
โดย ครูติดแผ่นดินลำไย เชียงราย
ด. ช. อติชาต ปันเต ม.1/12 เลขที่ 4 ด. ช. ณปภัช เรือนมูล ม.1/12 เลขที่ 5.
กระบวนการจัดการมูลฝอย การฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาล
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การผลิตไฟฟ้าจากขยะ โดยการฝังกลบขยะมูลฝอย การผลิตไฟฟ้าจากขยะ โดยการฝังกลบขยะมูลฝอย

การผลิตไฟฟ้าจากขยะโดยการฝังกลบขยะมูลฝอย เทคโนโลยีการผลิตพลังงานจากหลุมฝังกลบขยะมูลฝอย เพื่อลดการปล่อยก๊าซมีเทนที่เกิดจากกระบวนการย่อยสลายแบบไม่ใช้ออกซิเจนภานในหลุมฝังกลบ โดยปริมาณขยะมูลฝอยในพื้นที่ตลอดอายุการดำเนินงานฝังกลบเหมาะสมที่จะนำมาผลิตกระแสไฟฟ้าควรมีปริมาณไม่น้อยกว่า 1 ล้านตันขึ้นไป

ขั้นตอนการนำขยะมาผลิตกระแสไฟฟ้า 1. นำขยะมาแยกประเภทก่อนที่จะนำไปฝังกลบใน แลนด์ฟิลล์ ซึ่งจะต้องเป็นขยะที่ย่อยสลายได้เท่านั้น 2. หลังจากนำขยะมารวมในบ่อแล้ว เมื่อฝนตกน้ำจะไปทำปฏิกิริยาทำให้เกิดก๊าซหลายชนิด ซึ่งจะมีมีก๊าซเทนปนอยู่ประมาณ 30-55% ขึ้นอยู่กับปริมาณน้ำฝน

ขั้นตอนการนำขยะมาผลิตกระแสไฟฟ้า 3. แยกก๊าซโดยภายในบ่อฝังขยะจะมีการติดตั้งท่อนำก๊าซไปยังเครื่องแยกก๊าซ เพื่อแยกก๊าซมีเทนออกมาเข้าเครื่องผลิตกระแสไฟฟ้า 4. หลังจากนำขยะมาฝังกลบแล้ว ต้องใช้เวลาหมักทำให้เกิดก๊าซอย่างต่ำหนึ่งปีครึ่งจึงจะมีก๊าซเพียงพอในการผลิตกระแสไฟฟ้าได้

ตัวอย่างสถานที่ได้นำขยะมาผลิตกระแสไฟฟ้า กลุ่มประเทศที่มีการผลิตพลังงานโดยใช้ก๊าซชีวภาพจากหลุมฝังกลบขยะมูลฝอยกันมากได้แก่ ประเทศในกลุ่มยุโรป สหรัฐอเมริกา แคนนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์และประเทศในแถบเอเชีย (เกาหลีใต้ ฟิลิปินส์ เป็นต้น) สำหรับในประเทศไทยได้มีการเริ่มนำร่องขึ้นในปี พ.ศ. 2538 โดยศูนย์ปฏิบัติการ วิศวกรรมพลังงานและสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ซึ่งมีเป้าหมายผลิตกระแสไฟฟ้าขนาด 650 kW

ภาพแสดงการผลิตกระแสไฟฟ้าจากขยะ ที่จังหวัด นครปฐม

ภาพแสดงการผลิตกระแสไฟฟ้าจากขยะ ที่จังหวัด สมุทรปราการ

ข้อดีของการผลิตกระแสไฟฟ้าจากขยะ ลดปัญหาการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล ลดความรำคาญเนื่องจากกลิ่น แมลง และสัตว์นำเชื้อโรคต่างๆ ที่เกิดจากปัญหาขยะ ขยะมูลฝอยเป็นวัตถุดิพื้นฐานที่หาได้ง่าย ลดปัญหาการกำจัดขยะ นอกจากจะนำก๊าซมาผลิตกระแสไฟฟ้าแล้ว ยังสามารถนำไปเป็นเชื้อเพลิงสำหรับหม้อน้ำ เชื้อเพลิงสำหรับรถยนต์ เมื่อนำไปผ่านกระบวนการปรับปรุงก๊าซทำให้เป็นของเหลวผลิตเป็นเอทานอล และใช้เป็นแหล่งไอโดรเจนสำหรับเซลล์เชื้อเพลิง ลดค่าใช้จ่ายของโครงการ โดยใช้ก๊าซชีวภาพเป็นพลังงานทดแทน

ข้อด้อยของการผลิตกระแสไฟฟ้าจากขยะ มีข้อจำกัดในเรื่องประเภทของขยะที่ใช้ในการผลิตก๊าซชีวะภาพ คือ ต้องเป็นขยะที่ย่อยสลายได้เท่านั้น มีข้อจำกัดของอายุขยะที่นำมาฝังกลบปรมาณ 50 ปี พื้นที่ที่ถูกนำไปใช้เป็นหลุมฝังกลบขยะจะไม่สามารถนำมาทำการเกษตรได้ จะได้ก๊าซมีเทนที่มีกลิ่นเหม็น ส่งผลกระทบต่อพื้นที่รอบข้าง

อุปสรรคและปัญหาที่คาดว่าจะเกิดขึ้น สำหรับประเทศไทย การติดตั้งอุปกรณ์ รวมถึงการวางแผนการผลิต และบุคลากรยังขาดประสบการณ์ทำให้คุณภาพของก๊าซอาจยังไม่ดีพอ จึงไม่สามารถใช้แทนเชื้อเพลิงฟอสซิสได้ หากทำการฝังกลบไม่ถูกหลัก จะทำให้ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ก๊าซมีเทนที่เกิดจากการฝังกลบขยะนั้น จะทำให้เกิดปัญหาก๊าซเรือนกระจก อนาคตขยะจะกลายเป็นสิ่งที่มีราคาสูงทำให้ต้นทุนในการผลิตกระแสไฟฟ้าเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ราคาค่าไฟฟ้ามีราคาสูงขึ้น ถ้าการผลิตไฟฟ้าจากขยะมีประสิทธิภาพสูง ทำให้ในอนาคตจะมีกลุ่มเอกชนเข้ามาแสวงหากำไรทำให้ค่าไฟฟ้าราคาสูงขึ้น

แนวคิดในการแก้ไขอุปสรรคและปัญหาที่คาว่าจะเกิดขึ้น บุคลากรควรผ่านการอบรมและการฝึกฝนการทำงานจริงในการผลิตก๊าซชีวภาพ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องมีการตั้งมาตรฐานและกฎในการปฏิบัติ รัฐบาลต้องมามีบทบาทดูแลและโครงการผลิตกระแสไฟฟ้าจากขยะมูลฝอยอย่างจริงจัง

การเตรียมการเพื่อนำมาประยุกต์ใช้ เริ่มจากการศึกษาวิธีการผลิตก๊าซชีวภาพจากขยะมูลฝอยเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าอย่างละเอียด ศึกษาจากแหล่งที่ได้ผลิตจริงและแหล่งข้อมูลต่างๆ รวมถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นภายหลัง จากนั้นทำการทดลองผลิตโดยมีผู้ที่มีความรู้และเคยปฏิบัติมาก่อนมาช่วยและให้คำปรึกษา ศึกษาสิ่งที่ได้จากการทดลองทำการวิจัยเพื่อเปรียบเทียบ ข้อดี-ข้อเสีย แนวโน้มการนำไปใช้จริง โดยต้องคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยเป็นสำคัญ