เมื่อปิด S1, V1 กับ V2 มีค่าเท่าใด โดยที่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ห้องปฏิบัติการวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง
Advertisements

หลอดฟลูออเรสเซนต์ fluorescent
ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current)
4.6 RTL (Resistor-Transistor Logic) Inverter
ตอบคำถาม 1. วงจรไฟฟ้า หมายถึง ตัวนำไฟฟ้า หมายถึง
พื้นที่ผิวและปริมาตร
วงจรรวมหรือไอซี (Integrated Circuit, IC) และไอซีออปแอมบ์(OP-AMP )
X-Ray Systems.
ตัวเก็บประจุ ( capacitor )
5.9 Capacitance พิจารณาแผ่นตัวนำที่มีประจุอยู่และแผ่นตัวนำดังกล่าววางอยู่ในสาร dielectric ค่าควรจุของตัวเก็บประจุคือการนำเอาประจุที่เก็บสะสมหารกับความต่างศักย์ระหว่างสองแผ่นตัวนำ.
ไฟฟ้าสถิตย์ Electrostatics.
Electronic Lesson Conductometric Methods
8. ไฟฟ้า.
โรงเรียนวัดปากน้ำฝั่งเหนือ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ EG 3 กันยายน 2551.
บทที่ 2 ศักย์ไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้าสถิตย์
Physics II Unit 5 Part 2 วงจร RLC.
การแปลงลาปลาซ (Laplace transform) เป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถใช้หาผลเฉลยของปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์ “เราจะใช้การแปลงลาปลาซ แปลงจากปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์
วันนี้เรียน สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า
พลังงานศักย์ของระบบมีค่าเปลี่ยนแปลงตามข้อใด?
กระแสไฟฟ้า Electric Current
เส้นประจุขนาดอนันต์อยู่ในลักษณะดังรูป
12.5 อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นและการประยุกต์
การซ่อมบำรุงไมโครคอมพิวเตอร์ (Intro.)
ดิจิตอลกับไฟฟ้า บทที่ 2.
1 CHAPTER 2 Basic Laws A. Aurasopon Electric Circuits ( )
CHAPTER 4 Circuit Theorems
1 CHAPTER 1 Introduction A. Aurasopon Electric Circuits ( )
Second-Order Circuits
CHAPTER 10 AC Power Analysis
เครื่องมืออุปกรณ์งานเดินสายไฟฟ้าในอาคาร
PH114(SCE102) ปฏิบัติการฟิสิกส์ 2
ครูฉัตร์มงคล สนพลาย.
การโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้า
การแปรผันตรง (Direct variation)
ระบบไฟฟ้ากับเครื่องกล
วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก(อี
วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
สัปดาห์ที่ 10 (Part II) การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
เมนูหลัก เรื่อง วงจรไฟฟ้า สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
สารกึ่งตัวนำ คือ สารที่มีสภาพระหว่างตัวนำกับฉนวน โดยการเปลี่ยนแรงดันไฟเพื่อเปลี่ยนสถานะ สมชาติ แสนธิเลิศ.
การต่อวงจรตัวต้านทาน
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
หน่วยที่ 3 คุณลักษณะสมบัติของ RLC
การเติมน้ำกรด ใช้น้ำกรดที่มีค่าความถ่วงจำเพาะอยู่ระหว่าง ใส่น้ำกรดลงในทุกช่องแบตเตอรี่จนถึงระดับ UPPER ตั้งแบตเตอรี่ทิ้งไว้ในร่มประมาณ 0.5.
ยูเจที (UJT) ยูนิจังชั่น ทรานซิสเตอร์ (UNIJUNCTION TRANSISTOR) หรือเรียกย่อ ๆ ว่า ยูเจที (UJT) UJT ไปใช้งานได้อย่างกว้างขวางหลายอย่างเช่น ออสซิลเลเตอร์
ไดแอก ( DIAC ) .
การศึกษาวงจรและการซ่อมบำรุงไมโครคอมพิวเตอร์
หลอดไฟฟ้า.
Actuator
Electronics for Analytical Instrument
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ AC-Circuits Outline
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบผสม
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบขนาน
การอ่านสเกลบนหน้าปัดในการวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง (DC.V )
การอ่านค่าความจุของคาปาซิเตอร์
หน่วยที่ 1 บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ 5 ชิ้น สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
บทที่ ๗ เรื่องทฤษฎีของเทวินิน
บทที่ ๘ ทฤษฎีของนอร์ตัน
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ วงจรไฟฟ้า LC ค่า RMS หมายความว่าอย่างไร
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
ทฤษฎีของมิลล์แมน.
ตอนที่ ๒ เรื่องการวิเคราะห์โนด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วงจรตัวเก็บประจุดังรูป ตัวเก็บประจุยังไม่มีประจุ และสวิทช์ S1 กับ S2 เปิดอยู่ในตอนแรก เมื่อปิด S1, V1 กับ V2 มีค่าเท่าใด โดยที่ V1 = ความต่างศักย์ตกคร่อม C ในขณะที่สวิทช์ปิดพอดี V2 = ความต่างศักย์ตกคร่อม C เมื่อเวลาผ่านไปนานมากแล้ว 1) V1 = V V2 = V 2) V1 = 0 V2 = V 3) V1 = 0 V2 = 0 4) V1 = V V2 = 0

ปิด S1 ณ เวลา t=0 I=0 I เมื่อ t = ∞ เมื่อ t = 0 R (แต่ S2 ยังเปิดอยู่) V C 2R S1 S2 เมื่อ t = ∞ V C R I=0 VC = V เมื่อ t = 0 I VC = Q/C = 0

วงจรคายประจุ (RC Circuit--Discharging) ในตอนเริ่มต้นตัวเก็บประจุมีประจุ q0 = CVbattery, เมื่อปิดสวิทช์มาอยู่ที่ตำแหน่ง “b” ประจุจาก C จะเริ่มไหล R Vbattery C a b R Vbattery C a b จาก Kirchoff’s Voltage Rule ในช่วงแรก ๆ หลังจากสับสวิทช์มีประจุอยู่ (q=q0) เมื่อเวลาผ่านไปนานมาก ประจุไหลจนหมด (Ic =0) I + - ระหว่างกลาง Counterclockwise current V -I

วงจรในรูป ตอนเริ่มต้นตัวเก็บประจุไม่มีประจุอยู่ สวิทช์ S1 กับ S2 เปิดอยู่ในตอนแรก IR + - หลังจากปิดสวิทช์ S1 เป็นระยะเวลานานมาก แล้วจึงเปิดออก จากนั้นก็ ปิด S2 กระแสในตัวต้านทานตัวขวามือมีค่าเป็นอย่างไร ในทันทีที่ปิดสวิทช์ 1. IR = 0 2. IR = V/3R 3. IR = V/2R 4. IR = V/R

I R เมื่อปิด S1 เป็นเวลานานมาก แล้วจึงเปิดออก แล้วก็ปิด S2 C V 2R S1 I = V/2R 2R C V I V

วงจรในรูป ตอนเริ่มต้นตัวเก็บประจุไม่มีประจุอยู่ สวิทช์ S1 กับ S2 เปิดอยู่ในตอนแรก ตอนนี้ปิดสวิทช์ทั้งคู่ เป็นระยะเวลานานมาก ๆ ค่าความต่างศักย์ตกคร่อมตัวเก็บประจุมีค่าเท่าใด 1. VC = 0 2. VC = V 3. VC = 2V/3 A B C

R เมื่อปิดทั้ง S1 และ S2 เป็นเวลานานมาก C V 2R S1 S2 I 2R C R V จะไม่มีกระแสไหลผ่าน C เมื่อเวลาผ่านไปนานมากแล้ว เป็นจริงเสมอสำหรับวงจรไฟฟ้ากระแสตรง VC Can do a lot of writing onthis one if wanted..

เกิดอะไรขึ้นเมื่ออาจารย์ปิดสวิทช์? หลอดไฟ 2 S R V หลอดไฟ 1 R C เกิดอะไรขึ้นเมื่ออาจารย์ปิดสวิทช์? หลอดทั้งสองเริ่มสว่างและสว่างอยู่อย่างนั้น หลอดทั้งสองเริ่มสว่าง แต่แล้วหลอด 2 จะหรี่ลง หลอดทั้งสองเริ่มสว่าง แต่แล้วหลอด 1 จะหรี่ลง หลอดทั้งสองเริ่มสว่าง แต่แล้วก็จะหรี่ลงทั้งคู่ ไม่มีประจุบนตัวเก็บประจุ ในตอนแรก V(หลอด 1) = V(หลอด 2) = V ทั้งคู่เริ่มสว่าง ในที่สุด ไม่มีกระแสไหลผ่านตัวเก็บประจุ V(หลอด 2) = 0

ถ้าปิดสวิทช์ไปแล้วเป็นเวลานาน เกิดอะไรขึ้นเมื่ออาจารย์เปิดสวิทช์? หลอดไฟ 2 S R V หลอดไฟ 1 R C ถ้าปิดสวิทช์ไปแล้วเป็นเวลานาน เกิดอะไรขึ้นเมื่ออาจารย์เปิดสวิทช์? หลอดทั้งสองสว่างและสว่างอยู่อย่างนั้น หลอดทั้งสองสว่าง แต่แล้วหลอด 2 จะหรี่ลง หลอดทั้งสองสว่าง แต่แล้วหลอด 1 จะหรี่ลง หลอดทั้งสองสว่าง แต่แล้วจะหรี่ลงทั้งคู่ The purpose of this Check is to jog the students minds back to when they studied work and potential energy in their intro mechanics class. ตัวเก็บประจุมีประจุเต็ม (=CV) ตัวเก็บประจุให้ประจุกับหลอดไฟทั้งสองจนหมด

1.0000 0.5000 0.2500 0.1250 0.0625

RC = 2 RC = 1 47

วงจร 2 วงด้านล่างนี้มีตัวเก็บประจุที่มีค่าความจุเท่ากัน และมีประจุในตอนเริ่มต้นเท่ากันที่เวลา t = 0 เพียงแต่วงจร 2 มีตัวต้านทานที่มีค่าความต้านทานเป็น 2 เท่าของวงจร 1 วงจรไหนมีค่าคงที่เวลามากกว่ากัน วงจร 1 วงจร 2 เท่ากัน

ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับประจุบนตัวเก็บประจุทั้งสองตัวเมื่อเวลาผ่านไป วงจร 2 วงด้านล่างนี้มีตัวเก็บประจุที่มีค่าความจุเท่ากัน และมีประจุในตอนเริ่มต้นเท่ากันที่เวลา t = 0 เพียงแต่วงจร 2 มีตัวต้านทานที่มีค่าความต้านทานเป็น 2 เท่าของวงจร 1 Checkpoint 2b ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับประจุบนตัวเก็บประจุทั้งสองตัวเมื่อเวลาผ่านไป 1. Q1 < Q2 2. Q1 > Q2 3. Q1 = Q2 4. Q1 < Q2 ตอนแรกแล้ว Q1 > Q2 ต่อมา 5. Q1 > Q2 ตอนแรกแล้ว Q1 < Q2 ต่อมา RC = 1 RC = 2 Q = Q0e-t/RC