กระแสไฟฟ้า Electric Current

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ไฟฟ้ากระแสสลับ Alternating Current
Advertisements

ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current)
CHAPTER 9 Magnetic Force,Materials,Inductance
5.5 The Method of images เมื่อเราทราบว่าผิวตัวนำคือ ผิวสมศักย์ ดังนั้นถ้าอ้างอิงในผิวสมศักย์มีศักย์อ้างอิงเป็นศูนย์ จะสามารถหาศักย์ไฟฟ้าที่จุดใดๆ โดยใช้วิธีกระจก.
ทราบนิยามของ Flux และ Electric Flux Density
Conductors, dielectrics and capacitance
Coulomb’s Law and Electric Field Intensity
Energy and Potential วัตถุประสงค์ ทราบค่าคำจำกัดความ “งาน” ในระบบประจุ
4.5 The Potential Field of A System of Charges : Conservative Property
4.8 Energy Density in The Electrostatic Field
บทที่ 8 Power Amplifiers
รอยต่อ pn.
X-Ray Systems.
ตัวเก็บประจุ ( capacitor )
Welcome to Electrical Engineering KKU.
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
Chapter 8 The Steady Magnetic Field
พิจารณาหา D ในช่วง a< ρ <b
9.7 Magnetic boundary conditions
5.9 Capacitance พิจารณาแผ่นตัวนำที่มีประจุอยู่และแผ่นตัวนำดังกล่าววางอยู่ในสาร dielectric ค่าควรจุของตัวเก็บประจุคือการนำเอาประจุที่เก็บสะสมหารกับความต่างศักย์ระหว่างสองแผ่นตัวนำ.
ไฟฟ้าสถิตย์ Electrostatics.
Electronic Lesson Conductometric Methods
8. ไฟฟ้า.
กระแส และ วงจรไฟฟ้ากระแสตรง
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ EG 3 กันยายน 2551.
Physics II Unit 5 ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า และ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ.
บทที่ 2 ศักย์ไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้าสถิตย์
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
การแปลงลาปลาซ (Laplace transform) เป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถใช้หาผลเฉลยของปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์ “เราจะใช้การแปลงลาปลาซ แปลงจากปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์
วันนี้เรียน สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า
พลังงานศักย์ของระบบมีค่าเปลี่ยนแปลงตามข้อใด?
เมื่อปิด S1, V1 กับ V2 มีค่าเท่าใด โดยที่
เส้นประจุขนาดอนันต์อยู่ในลักษณะดังรูป
ว ความหนืด (Viscosity)
Electric force and Electric field
Electric field line Electric flux Gauss’s law
ดิจิตอลกับไฟฟ้า บทที่ 2.
Electronic1 อิเล็กทรอนิกส์ 1 Electronic 1.
CHAPTER 8 Sinusoids and Phasors
1 CHAPTER 2 Basic Laws A. Aurasopon Electric Circuits ( )
CHAPTER 4 Circuit Theorems
1 CHAPTER 1 Introduction A. Aurasopon Electric Circuits ( )
Second-Order Circuits
ฟิสิกส์สำหรับเทคโนโลยีสารสนเทศ
PH114(SCE102) ปฏิบัติการฟิสิกส์ 2
การแปรผันตรง (Direct variation)
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
ไฟฟ้ากระแสตรง Direct Current
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
Electrical Circuit Analysis 2
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
ตัวเก็บประจุ (CAPACITOR)
การต่อวงจรตัวต้านทาน
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ(ตอน 3)
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ AC-Circuits Outline
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบผสม
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบขนาน
หน่วยที่ 1 บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
การวิเคราะห์แบบลูป ตอนที่ ๑ การวิเคราะห์ลูปแบบทั่วไป
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ วงจรไฟฟ้า LC ค่า RMS หมายความว่าอย่างไร
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
ทฤษฎีของมิลล์แมน.
Ch 2 Resistive Circuits วงจรซึ่งประกอบไปด้วย Resistors กับ Sources วงจรซึ่งประกอบไปด้วย Resistors กับ Sources กฎหลักพื้นฐานของการวิเคราะห์วงจรมี 2 ข้อคือ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กระแสไฟฟ้า Electric Current กฎของโอห์ม ตัวต้านทาน ตัวต้านทานในวงจรไฟฟ้า กำลังไฟฟ้า กฎของเคอร์ชอฟฟ์ Ohm’s Law & resistors, Resistors in circuits, Power in circuits, Kirchhoff’s rules

ทบทวนแนวคิดสำคัญที่ผ่านมา Coulomb’s Law แรงระหว่างจุดประจุ q1 q2 Electric Field แรงต่อหน่วยประจุ เกิดจากประจุไฟฟ้า Gauss’ Law ฟลักซ์ที่ผ่านผิวปิดแปรผันตรงกับประจุสุทธิภายในผิวปิดนั้น เราใช้ Gauss’ Law หาค่าสนามไฟฟ้าได้ สมมาตรทรงกลม สมมาตรทรงกระบอก ระนาบ Electric Potential พลังงานศักย์ต่อหน่วยประจุ เราหาสนามไฟฟ้าจากศักย์ไฟฟ้าได้ ความจุไฟฟ้า 2

การประยุกต์แนวคิดสำคัญ สิ่งที่กำหนดการเคลื่อนที่ของประจุคืออะไร? ตัวนำ: ประจุเคลื่อนที่อิสระในเนื้อ ประจุจะวิ่งจนกว่าสนามจะเป็นศูนย์ !!! Spheres Cylinders Infinite Planes Gauss’ Law E = 0 สนามเป็นศูนย์ในเนื้อตัวนำและประจุส่วนเกิน อยู่บนผิวของตัวนำ Field Lines & Equipotentials Field Lines Equipotentials Capacitor Networks อนุกรม: (1/C23)=(1/C2)+(1/C3) ขนาน: C123 = C1 + C23 Work Done By E Field Change in Potential Energy 05 3

I s V กฎของโอห์ม Ohm’s Law: J = s E V = EL I = JA I/A = sV/L สภาพนำไฟฟ้า Conductivity V V = EL I = JA ปริมาณที่วัดได้: I/A = sV/L I = V/(L/sA) R = L sA I = V/R R = Resistance r = 1/s

กระแสที่ไหลในตัวต้านทานคล้ายกับน้ำไหลในท่อ! I คล้ายกับอัตราการไหลของน้ำ V คล้ายกับความดัน R คล้ายกับความยากหรือง่ายที่น้ำไหลผ่านท่อได้ R มีค่ามาก L ยาว หรือ A เล็ก R = L sA R มีค่าน้อย L สั้น หรือ A ใหญ่

กระแสเท่ากันไหลผ่านตัวต้านทานทั้งคู่ ให้นักศึกษาเปรียบเทียบความต่างศักย์ตกคร่อมตัวต้านทาน 1 2 3 1 2 3

การต่อตัวต้านทาน อนุกรม Series ขนาน Parallel การต่อ ความต่างศักย์ ตัวต้านทานอยู่บนเส้นทางการไหลต่างกัน ตัวต้านทานอยู่บนเส้นทางการไหลเดียวกัน การต่อ ความต่างศักย์ Voltage ต่างกัน สำหรับตัวต้านทานแต่ละตัว Vtotal = V1 + V2 เท่ากัน สำหรับตัวต้านทานแต่ละตัว Vtotal = V1 = V2 เท่ากัน สำหรับตัวต้านทานแต่ละตัว Itotal = I1 = I2 ต่างกัน สำหรับตัวต้านทานแต่ละตัว Itotal = I1 + I2 กระแส Current ความต้านทานรวมResistance เพิ่มขึ้น Req = R1 + R2 ลดลง 1/Req = 1/R1 + 1/R2

ตัวต้านทาน 3 ตัวต่อกับแบตเตอรีความต่างศักย์ V ดังรูป R1= R2 = R3 = R. 1. I2 > I3 2. I2 = I3 3. I2 < I3

เปรียบเทียบกระแสที่ไหลผ่าน R1 กับที่ไหลผ่าน R2: R1 = R2 = R3 = R เปรียบเทียบกระแสที่ไหลผ่าน R1 กับที่ไหลผ่าน R2: 1. I1/I2 = 1/2 2. I1/I2 = 1/3 3. I1/I2 = 1 4. I1/I2 = 2 5. I1/I2 = 3

เปรียบเทียบความต่างศักย์ตกคร่อม R2 กับที่ตกคร่อม R3: R1 = R2 = R3 = R เปรียบเทียบความต่างศักย์ตกคร่อม R2 กับที่ตกคร่อม R3: 1) V2 > V3 2) V2 = V3 = V 3) V2 = V3 < V 4) V2 < V3

เปรียบเทียบความต่างศักย์ตกคร่อม R1 กับที่ตกคร่อม R2: R1 = R2 = R3 = R เปรียบเทียบความต่างศักย์ตกคร่อม R1 กับที่ตกคร่อม R2: 1) V1 = V2 = V 2) V1 = ½ V2 = V 3) V1 = 2V2 = V 4) V1 = ½ V2 = 1/5 V 5) V1 = ½ V2 = ½ V

(1) อนุกรม (2) ขนาน (3) ไม่ใช้ทั้งคู่ R1 R2 ในรูปเป็นวงจรที่มีค่าต่าง ๆ ดังนี้: V = 18V, R1 = 1W, R2 = 2W, R3 = 3W, และ R4 = 4W. ความต่างศักย์ตกคร่อม R2 (V2)มีค่าเท่าใด? V R3 R4 (1) อนุกรม (2) ขนาน (3) ไม่ใช้ทั้งคู่ R1 กับ R2 ต่อกันแบบไหน:

แล้ววงจรนี้หละจ๊ะ = ทำอย่างไร? ใช้ Kirchhoff’s Rules R1 R3 V1 V2 R2 R1

Kirchoff’s Voltage Rule Kirchoff's Voltage Rule states that the sum of the voltage changes caused by any elements (like wires, batteries, and resistors) around a circuit must be zero.