หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เสียง ข้อสอบ o-Net.
Advertisements

อยู่ใกล้กันมากขึ้นและมีความบางของวงมากขึ้น B)
WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.
น้ำหนักแสงเงา.
น้ำหนักแสงเงาหุ่นนิ่ง
Rayleigh Scattering.
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
ทัศนศาสตร์(Optics) วิชาศึกษาธรรมชาติแสงและการมองเห็น.
การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป.
Electromagnetic Wave (EMW)
การทดลองที่ 3 สเปกโทรสโกป.
การเลี้ยวเบน (Diffraction)
ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก เวลา น. ไปตกยังทิศตะวันตก เวลา 18
การสะท้อนและการหักเหของแสง
หน่วยที่ 6 การแทรกสอดคลื่นแสง.
หน่วยที่ 6 การแทรกสอดของคลื่นแสง
เส้นประจุขนาดอนันต์อยู่ในลักษณะดังรูป
Ultrasonic sensor.
(Holographic Versatile Disc )
ช่วงความชัดลึกของภาพ ภาพจะมีช่วงความชัดลึกมากหรือ น้อยขึ้นอยู่กับเหตุผล 3 ประการ คือ.
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (Projectile motion)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
จัดทำโดย นายอัมรินทร์ วงษ์พันธุ์ ภาควิชา การจัดการพลังงาน รหัส
Liquid Crystal Display (LCD)
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
ความหมายและชนิดของคลื่น
เศษส่วน.
วิธีดูธนบัตรปลอม จุดสังเกตในธนบัตรรัฐบาล.
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
การแทรกสอดของคลื่น การแทรกสอดของคลื่นเกิดขึ้นจากคลื่นตั้งแต่สองขบวน ขึ้นไปเคลื่อนที่มาพบกัน ทำให้เกิดการรวมกันของคลื่นได้ 2 แบบ คือ แบบหักล้างกันและแบบเสริมกัน.
เ ฮี ย น ฟิ สิ ก ส์ โ ต ย ค รู โ อ๊ บ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ
กาแล็กซีและเอกภพ.
โดย ครูเพ็ญนภา ทองนุ่ม
เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Bragg Scattering น.ส. ธัญญารัตน์ อุปละ รหัส
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 อ.ดิลก อุทะนุต.
ธรรมชาติเชิงคลื่นของสสาร
จะเกิดขึ้นได้กับคลื่น ตามขวาง
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
ระบบสี และ การแสดงผลภาพ
การเตรียมตัวถ่ายภาพ Outdoor Photography
Fiber Optic (เส้นใยแก้วนำแสง)
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
กล้องโทรทรรศน์.
การสะท้อนแสงบนกระจกเงา
วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภค
Physics3 s32203 light light2 บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
ยูเรนัส (Uranus).
การถ่ายภาพ 1 หลักการทางฟิสิกส์เกี่ยวกับระบบแสงของกล้องถ่ายรูปในกรณีทั่วไป น้ำยาเคมีบนฟิล์มและระบบความไวของฟิล์ม กล้องถ่ายรูป เอ็กซ์โพสเซอร์
ทัศนศาสตร์กายภาพ การแทรกสอด (Interference / superposition)
การหักเหของแสง (Refraction)
โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว
แบบทดสอบชุดที่ 2 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
ดวงจันทร์ (Moon).
Module 3 สี และ การวัดค่าสี
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
ดาวพุธ (Mercury).
ดาวพลูโต (Pluto).
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
ดาวเนปจูน (Neptune).
แว่นกรองแสง (Light Filter)
ดาวเสาร์ (Saturn).
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ตำแหน่งบนพื้นโลก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน ตอนที่ 7.1 การเลี้ยวเบน การเลี้ยวเบนจากช่องเล็กยาวเดี่ยว การเลี้ยวเบนผ่านช่องกลม การเลี้ยวเบนเนื่องจากช่องเล็กยาวสองช่อง เกรตติงเลี้ยวเบน การเลี้ยวเบนของรังสีเอกซ์โดยผลึก ตอนที่ 7.2 โพลาไรเซชัน โพลาไรเซชันโดยการเลือกดูดกลืน โพลาไรเซชันโดยการสะท้อน โพลาไรเซชันโดยการหักเหสองแนว โพลาไรเซชันโดยการกระเจิง

การเลี้ยวเบนเมื่อแสงผ่านขอบของวัตถุ

การเลี้ยวเบนเมื่อแสงผ่านเหรียญบาท

การเลี้ยวเบนจากช่องเล็กยาวเดี่ยว Hugen’s Principle: - ทุกส่วนของสลิต เป็นแหล่งกำเนิดของคลื่น - คลื่นที่เกิดขึ้นสามารถเกิดการแทรกสอดได้ แบ่งสลิตเป็น 2 ส่วน:   If Path difference = /2 มืด  a   a/2     แบ่งสลิตเป็น 4 ส่วน:   พิจารณาเมื่อฉากอยู่ห่างจากสลิตมากๆ Fraunhofer diffraction pattern

แถบสว่างกลางจะมีขนาดใหญ่ แถบสว่างที่อยู่ถัดไปจะมีความเข้มน้อยกว่ามาก และสลับด้วยแถบมืด ตำแหน่งของแถบสว่างจะอยู่ประมาณตรงกลางระหว่างแถบมืดที่อยู่ติดกัน แถบสว่างกลางจะมีขนาดประมาณ 2 เท่าของแถบสว่างอื่นๆ

การเลี้ยวเบนจะยิ่งมีค่ามากขึ้นถ้าขนาดของช่องมีค่าน้อยกว่าความยาวคลื่นมากๆ

องศา เนื่องจาก สำหรับ เซนติเมตร ตัวอย่าง แสงความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ตัวอย่าง แสงความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ส่องผ่านช่องเล็กยาวความกว้าง 0.1 มิลลิเมตร จงหา (a) มุมของตำแหน่งมืดแรก ตำแหน่งมืดที่สองอยู่ห่างจากจุดกึ่งกลาง ริ้วสว่างกลางเท่าไร กำหนดให้ช่องเล็กยาวและฉากห่างกัน 3 เมตร องศา เนื่องจาก สำหรับ เซนติเมตร

มุมที่เกิดแถบมืดที่ 2 น้อยกว่า 4° ประมาณเป็นมุมเล็กๆ ได้ ตัวอย่าง แสงสีเขียวความยาวคลื่น 500 nm ตกกระทบช่องเปิดเล็กยาวกว้าง a ไปเกิดริ้วการเลี้ยวเบนบนฉากระยะ 2 m โดยแถบมืดที่สองอยู่ห่างจากจุดกึ่งกลางเป็นระยะ 1 cm จงหาความกว้างของช่องเปิดนี้ มุมที่เกิดแถบมืดที่ 2 น้อยกว่า 4° ประมาณเป็นมุมเล็กๆ ได้

ตัวอย่าง แสงความยาวคลื่น L1 และ L2 ผ่านช่องเล็กยาวช่องหนึ่ง จากลวดลายการเลี้ยวเบนพบว่าตำแหน่งมืดที่ 1 ของแสง L1 ตรงกับตำแหน่งมืดที่ 2 ของแสง L2 จงหาความสัมพันธ์ของ L1 และ L2 ตำแหน่งมืดที่ 1 ของแสง L1 : ตำแหน่งมืดที่ 2 ของแสง L2 :

ความเข้มของลวดลายการเลี้ยวเบน จากช่องเล็กยาวเดี่ยว   Phase difference: Phase difference:   มืด !!! ER = 0

ความเข้มของลวดลายการเลี้ยวเบน จากช่องเล็กยาวเดี่ยว Phase difference:  = 0    

จากรูป มืด ผลรวมของส่วนย่อย     ผลรวมของส่วนย่อย ได้ส่วนของเส้นโค้งยาว E0 รัศมี R กวาดเป็นมุม   R มืด   R  

ความเข้มของลวดลายการเลี้ยวเบน จากช่องเล็กยาวเดี่ยว มืด    

ตัวอย่าง จงหาอัตราส่วนระหว่างความเข้มของแถบสว่างทุติยภูมิ (secondary maxima) อันดับที่ 1 และ 2 ต่อความเข้มของแถบสว่างตรงกลางจากรูป   การเกิดแถบสว่างทุติยภูมิจะเกิดระหว่างริ้วมืดสองริ้วที่ติดกัน จึงจะใช้ค่าประมาณว่า ริ้วสว่างทุติยภูมิเกิด ณ ตำแหน่งกึ่งกลางริ้วมืดที่ติดกัน จากสมการ จะเห็นว่าแถบสว่างทุติยภูมิเกิดเมื่อ เท่ากับ

กำลังแยกของช่องเล็กยาวเดี่ยว กำลังแยก (resolution) เป็นประสิทธิภาพของอุปกรณ์ทางทัศนศาสตร์ที่สามารถแยกภาพของวัตถุ 2 ชนิดที่อยู่ติดกันออกจากกันได้ แถบมืดอันดับแรก แยกไม่ได้ แยกได้

การเลี้ยวเบนผ่านช่องกลม เงื่อนไขวงมืด D คือ เส้นผ่านศูนย์กลางช่องกลม

มุมที่เกิดวงมืดวงแรกน้อยกว่า 4° ประมาณเป็นมุมเล็กๆ ได้ ตัวอย่าง ในการทดลองการเลี้ยวเบนฟราวน์โฮเฟอร์ผ่านช่องกลม นักทดลองได้ใช้แสงความยาวคลื่น 500 nm ส่องผ่านช่องกลมเส้นผ่านศูนย์กลาง D ไปเกิดลวดลายการเลี้ยวเบนที่ฉากซึ่งห่างออกไป 2 เมตร พบว่าเส้นผ่านศูนย์กลางวงมืดวงแรกมีค่าเท่ากับ 2.44 cm ให้หาเส้นผ่านศูนย์กลาง D ของช่องเปิดดังกล่าว L = 2m     มุมที่เกิดวงมืดวงแรกน้อยกว่า 4° ประมาณเป็นมุมเล็กๆ ได้ แถบมืดอันดับแรก

การเลี้ยวเบนเนื่องจากช่องเล็กยาวสองช่อง a d a

แถบมืดอันแรกเนื่องจากการเลี้ยวเบน ทับกับแถบสว่างที่เกิดจากการแทรกสอด การแทรกสอด สำหรับแถบสว่าง :   การเลี้ยวเบน สำหรับแถบมืด :   มืด    

แถบมืดอันแรกเนื่องจากการเลี้ยวเบน ทับกับแถบสว่างที่เกิดจากการแทรกสอด การแทรกสอด สำหรับแถบสว่าง :   การเลี้ยวเบน สำหรับแถบมืด :   ตัวอย่าง ช่องเล็กยาวคู่มีความกว้างของช่อง 0.25 มิลลิเมตร ตำแหน่งกึ่งกลางช่องเล็กยาวห่างกัน 1 มิลลิเมตร จงหาว่าริ้วแทรกสอดใดบ้างหายไป a = 0.25 mm and d = 1 mm การเลี้ยวเบน สำหรับแถบมืด :   การแทรกสอด สำหรับแถบสว่าง :       แถบมืดที่ n = 1: การแทรกสอด แถบสว่าง ที่ m = 4 หายไป แถบมืดที่ n = 2: การแทรกสอด แถบสว่าง ที่ m = 8 หายไป …

ภายในบรรจุแถบสว่าง 7 แถบ ที่เกิดจากการแทรกสอด เนื่องจากสลิตห่างกัน a ตัวอย่าง จงหาอัตราส่วนระหว่างระยะห่างของสลิตคู่ a ต่อความกว้างของสลิต b ที่ทำให้แถบสว่างที่เกิดจากการเลี้ยวเบนบรรจุแถบสว่างที่เกิดจากการแทรกสอดได้ 7 แถบพอดี การเลี้ยวเบนของสลิตกว้าง b : จุดมืดแรก ภายในบรรจุแถบสว่าง 7 แถบ ที่เกิดจากการแทรกสอด เนื่องจากสลิตห่างกัน a ดังนั้นแถบแรกจากการเลี้ยวเบน ตรงกับแถบมืดอันดับ 4 จากการแทรกสอด      

เกรตติงเลี้ยวเบน เกรตติงเลี้ยวเบนประกอบด้วยช่องเล็กยาวจำนวนมากขนานกันแต่ละช่องมีระยะห่างเท่ากัน ความเข้มของลวดลายการเลี้ยวเบนที่ปรากฏบนฉากจะเป็นผลที่เกิดขึ้นจากทั้งการแทรกสอดและการเลี้ยวเบน เกรตติงมีทั้งแบบให้แสงส่องผ่าน และแบบให้แสงสะท้อนออก

ระยะห่างระหว่างสลิต : d = 1/N เกรตติงเลี้ยวเบน จุดสว่าง เกรตติง : N lines/cm ระยะห่างระหว่างสลิต : d = 1/N

ตัวอย่าง แสงความยาวคลื่น 632 ตัวอย่าง แสงความยาวคลื่น 632.8 nm ตกกระทบเกรตติงเลี้ยวเบนจำนวน 6000 ช่องต่อเซนติเมตร จงหามุมที่จะพบแถบสว่างอันดับที่ 1 และ 2 แถบสว่างของ เกรตติง หาความกว้างของช่อง แถบสว่างอันดับ 3 อยู่ที่ตำแหน่งใด แถบสว่างอันดับ 3 จะมองไม่เกิด เนื่องจากค่า sin เกิน 1

ความยาวคลื่นน้อย sin  ก็มีค่าน้อย บรรจุข้อมูลได้มาก มีความจุข้อมูลถึง 25 GB ต่อชั้น ใช้แสงที่มีความยาวคลื่น 405 nm ซึ่งมากกว่าแผ่น DVD ประมาณ 5 เท่า ซึ่งมีความจุประมาณ 5 GB ต่อชั้น ใช้แสงที่มีความยาวคลื่น 780 nm ความยาวคลื่นน้อย sin  ก็มีค่าน้อย บรรจุข้อมูลได้มาก http://en.wikipedia.org/wiki/Blu-ray_Disc

กำลังแยกของเกรตติงเลี้ยวเบน ถ้ามีคลื่นที่ความยาวคลื่น มีค่าใกล้เคียงกัน ค่าความแตกต่างความยาวคลื่นน้อยที่สุดที่เกรตติงจะแยกได้หรือเป็นขีดจำกัดการแยก ค่ากำลังแยก อาจเขียนในรูปของเลขอันดับ m และจำนวนช่อง N ของเกรตติง

ตัวอย่าง เมื่ออะตอมของธาตุที่อยู่ในสถานะก๊าซเกิดการกระตุ้นที่อุณหภูมิสูง จะปล่อยแสงที่มีค่าความยาวคลื่นเฉพาะค่าออกมา เป็นลักษณะสเปกตรัมเฉพาะของแต่ละธาตุ ซึ่งธาตุโซเดียมจะให้แสงที่มีความยาวคลื่น 589.00 nm และ 589.59 nm a ) จะต้องเลือกเกรตติงให้มีค่ากำลังแยกอย่างน้อยเท่าใดเพื่อแยกแยะแสงสองความยาวคลื่นนี้ b ) ถ้าจะแยกแสงสองความยาวคลื่นนี้ที่แถบสว่างอันดับ 2 จะต้องใช้เกรตติงที่มีอย่างน้อยกี่ช่อง

การเลี้ยวเบนของรังสีเอกซ์โดยผลึก การแทรกสอดแบบเสริมกัน : Path difference = m Path difference = 2 d sin กฎของแบรกก์ (Bragg’s law): d sin 

โพลาไรเซชัน (Polarization) โพลาไรเซชันโดยการเลือกดูดกลืน โพลาไรเซชันโดยการสะท้อน โพลาไรเซชันโดยการหักเหสองแนว โพลาไรเซชันโดยการกระเจิง การประยุกต์แสงโพลาไรเซชัน

การแกว่งกวัดของสนามไฟฟ้าในคลื่นแสง แสงโพลาไรซ์ แสงไม่โพลาไรซ์

โพลาไรเซชันโดยการเลือกดูดกลืน แผ่นโพลารอยด์

ตัวอย่าง แสงไม่โพลาไรซ์ความเข้ม I0 ส่องผ่านแผ่นโพลารอยด์ 2 แผ่นดังภาพ โดยหลังจากที่ผ่านแผ่นที่ 1 มีความเข้มของแสงเป็น I1 ถ้าแกนส่งผ่านของแผ่นที่ 2 ทำมุม 45° กับแผ่นที่ 1 ความเข้มแสงที่ส่องผ่านแผ่นที่ 2 มีค่าเท่าใด ถ้าสมมติว่าแผ่นโพลารอยด์สามารถส่งผ่านแสงได้โดยสมบูรณ์ ให้เปรียบเทียบความเข้มแสง I1 กับ I0

โพลาไรเซชันโดยการสะท้อน มุมบริวสเตอร์ p        

http://www.polaroideyewear.com/polarization_driving.html

http://www.hoyafilter.com/products/hoya/index.html

โพลาไรเซชันโดยการกระเจิง เมื่อแสงตกกระทบอนุภาคขนาดเล็กจะเกิดการกระเจิง อนุภาคเหล่านี้จะมีขนาดเล็กเมื่อเทียบกับความยาวคลื่นแสง การกระเจิงทำให้แสงที่กระเจิงเป็นแสงโพลาไรซ์เชิงเส้นได้

โพลาไรเซชันโดยการกระเจิง ในชั้นบรรยากาศของโลก ประกอบไปด้วย โมเลกุลของออกซิเจน O2 และไนโตรเจน N2 ซึ่งขนาดของโมเลกุลจะกระเจิงแสงความยาวคลื่นสั้นได้ดี (สีน้ำเงิน) ในเวลากลางวันที่ดวงอาทิตย์สูงจากขอบฟ้า ทองฟ้าเป็นสีน้ำเงินเนื่องจากการกระเจิงของกลุ่มแสงสีน้ำเงิน ในเวลาเช้าและเย็นแสงเดินทางผ่านบรรยากาศเป็นระยะไกลกว่าในเวลากลางวัน แสงสีฟ้าส่วนใหญ่จะกระเจิงออกไป จึงเหลือแต่แสงสีแดง หรือแดงปนเหลือง