อนุกรมกำลัง (power series)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

ทฤษฎีบทลิมิต (Limit Theorem).
ลิมิตและความต่อเนื่อง
ลำดับลู่เข้า และลำดับลู่ออก
บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)
(Some Extension of Limit Concept)
ความต่อเนื่อง (Continuity)
บทที่ 2 ฟังก์ชันค่าเวกเตอร์
ลำดับทางเดียว (Monotonic Sequences)
Chapter 3 Interpolation and Polynomial Approximation
คณิตศาสตร์เพิ่มเติ่ม ค เรื่อง วงกลม โดย ครูนาตยา บุญเรือง
เอกนาม เอกนามคล้าย การบวกลบเอกนาม การคูณและหารเอกนาม
การทดสอบที (t) หัวข้อที่จะศึกษามีดังนี้
รู ป ว ง ก ล ม พัฒนาโดย นายวรวุธ อัครกตัญญู
ลิมิตที่อนันต์และ ลิมิตค่าอนันต์
ทบทวน 1กลศาสตร์ Newton 1.1 Introduction “ระยะทาง” และ “เวลา”
การบ้าน ข้อ 1 จงพิสูจน์ว่า
Chapter 1 โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริธึมส์
Review of Ordinary Differential Equations
Power Series Fundamentals of AMCS.
Power Series (2) Fundamentals of AMCS.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ลำดับจำกัดและลำดับอนันต์
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ฟังก์ชัน ฟังก์ชันเป็นรูปแบบหนึ่งของความสัมพันธ์ แต่มีกฎเกณฑ์มากกว่านั่นคือ ถ้า f เป็นความสัมพันธ์ หรือเราสามารถเขียนฟังก์ชัน f ในอีกรูปแบบหนึ่งคือ.
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
ฟังก์ชัน ฟังก์ชันเป็นรูปแบบหนึ่งของความสัมพันธ์ แต่มีกฎเกณฑ์มากกว่า
ความชันและอัตราการเปลี่ยนแปลง
ค่าสุดขีดและจุดอานม้า Extreme Values and Saddle Points
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
เฉลยแบบฝึกหัด 1.5 จงพิจารณาว่า ฟังก์ชันในข้อต่อไปนี้ไม่มีความต่อเนื่องที่ใดบ้าง วิธีทำ เนื่องจากฟังก์ชัน และ.
อนุพันธ์อันดับหนึ่ง ( First Derivative )
หน่วยที่ 3 อินทิกรัลและการประยุกต์
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
(Sensitivity Analysis)
มิสกมลฉัตร อู่ศริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
การหาปริพันธ์ (Integration)
CHAPTER 1 Major Sources of Errors in Numerical Methods
คำศัพท์ที่น่าสนใจใน A5
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
ทฤษฎีบททวินาม (Binomial Theorem)
การพัฒนาสมการไดโอแฟนไทน์กำลังสอง
สวัสดี...ครับ.
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ทบทวนความรู้เดิม (Activate Prior Knowledge)
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ อ.วีระ คงกระจ่าง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงก์ลิสต์
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
สาระการเรียนรู้ที่ ๙ ประโยคเปิด
นางสุทัศนีย์ พลเตชา ผลงานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อนุกรมกำลัง (power series) อนุกรมกำลังเป็นรูปแบบหนึ่งของอนุกรม โดยมีลักษณะคล้ายคลึงกับพหุนาม เพียงแต่ว่ามีลักษณะเป็นพหุนามที่มีพจน์เป็นจำนวนอนันต์ อนุกรมกำลังมีบทบาทมากในการประมาณค่าของฟังก์ชัน และการเรียนในเนื้อหาคณิตศาสตร์ชั้นสูง เช่น วิชาการวิเคราะห์เชิงคณิตศาสตร์ วิชาการวิเคราะห์เชิงตัวเลข เป็นต้น

พหุนาม (polynomial) เราเรียกฟังก์ชัน pn(x) ว่าพหุนามระดับขั้น n (degree n) ถ้า เมื่อ n เป็นจำนวนนับหรือ 0 เป็นค่าคงตัวใด ๆ เราเรียก ว่าสัมประสิทธิ์

อนุกรมกำลัง เราเรียกรูปแบบอนุกรมอนันต์ ว่าอนุกรมกำลังของ x รอบจุด (power series of x around point x0) เมื่อ เป็นค่าคงตัวใด ๆ และ กำหนดให้ โดย เรียก ว่า สัมประสิทธิ์ของอนุกรม เรียก ว่า จุดศูนย์กลาง เรียก ว่า ตัวแปร

สำหรับกรณี เราเรียกรูปแบบอนุกรมอนันต์ ว่าอนุกรมกำลังของ x

ตัวอย่างอนุกรมกำลังที่น่าสนใจ

พิจารณาอนุกรม ด้วยวิธีการทดสอบด้วยอัตราส่วนพบว่า ดังนั้นอนุกรม ลู่เข้าเมื่อ

สมบัติของอนุกรมกำลัง ถ้า และ เป็นอนุกรมกำลังที่ลู่เข้าเมื่อ สำหรับบางจำนวน แล้ว 1. 2. 3. เมื่อ c เป็นค่าคงตัวใด ๆ

4. 5. เมื่อ C เป็นค่าคงตัวใด ๆ

แนวคิดในการประมาณฟังก์ชันด้วยพหุนาม เราอาจตั้งสมมติฐานว่า เราสามารถแทนฟังก์ชัน f(x)ได้ด้วยพหุนาม pn(x) ถ้าทั้งฟังก์ชันและพหุนามมีค่าเท่ากันแล้ว อนุพันธ์อันดับต่าง ๆ ณ x=0 ต้องมีค่าเท่ากันด้วย พบว่า

หรือเขียนใหม่ได้เป็น

ดังนั้นเราสามารถประมาณฟังก์ชัน f(x) ด้วยพหุนาม

เราเรียกพหุนาม ว่าพหุนามแมคลอรีนระดับขั้น n ของฟังก์ชัน f (Maclaurin polynomial degree n of f) และเรียกอนุกรม ว่าอนุกรมแมคลอรีนของฟังก์ชัน f (Maclaurin series of f) ถ้า x อยู่ในช่วงที่ทำให้อนุกรมดังกล่าวลู่เข้า

สำหรับเมื่อพิจารณาในกรณีทั่วไปที่ไม่ใช่ x=0 เช่นเมื่อพิจารณา สำหรับกรณี x=x0

หรือเขียนใหม่ได้เป็น

ดังนั้นเราสามารถประมาณฟังก์ชัน f(x) ด้วยพหุนาม

เราเรียกพหุนาม ว่าพหุนามเทย์เลอร์ระดับขั้น n ของฟังก์ชัน f ที่จุด x0 (Taylor polynomial degree n of f at x0) และเรียกอนุกรม ว่าอนุกรมเทย์เลอร์ของฟังก์ชัน f ที่จุด x0 (Taylor series of f at x0) ถ้า x อยู่ในช่วงที่ทำให้อนุกรมดังกล่าวลู่เข้า

ตัวอย่าง จงหาพหุนามแมคลอรินระดับขั้น n และอนุกรมแมคลอลินของ ฟังก์ชัน

ตัวอย่าง จงหาพหุนามเทย์เลอร์ระดับขั้น n และอนุกรมเทย์เลอร์ที่จุด 1 ของ ฟังก์ชัน

ตัวอย่าง จงหาพหุนามแมคลอรินระดับขั้น n และอนุกรมแมคลอลินของ ฟังก์ชัน

ตัวอย่าง จงหาพหุนามเทย์เลอร์ระดับขั้น n และอนุกรมเทย์เลอร์ที่จุด ของ ฟังก์ชัน

ตัวอย่าง จงหาพหุนามแมคลอรินระดับขั้น n และอนุกรมแมคลอลินของ ฟังก์ชัน

ตัวอย่าง จงหาพหุนามเทย์เลอร์ระดับขั้น n และอนุกรมเทย์เลอร์ที่จุด ของ ฟังก์ชัน

ตัวอย่าง จงหาพหุนามเทย์เลอร์ระดับขั้น n และอนุกรมเทย์เลอร์ที่จุด ของ ฟังก์ชัน

ค่าความคลาดเคลื่อนจากการประมาณด้วยพหุนามเทย์เลอร์ ในการประมาณค่าของฟังก์ชันด้วยพหุนามเทย์เลอร์ จะมีค่าความคลาดเคลื่อน ซึ่งทำให้ผลการคำนวณค่าพหุนามแตกต่างจากค่าของฟังก์ชันจริง ซึ่ง Joseph Louise Lagrange ได้แสดงทฤษฎีการหาค่าความคลาดเคลื่อนอย่างชัดแจ้งต่อจาก Brook Taylor ผู้เสนอแนวคิดเรื่องอนุกรมเทย์เลอร์ไว้ในทฤษฎีเศษเหลือของอนุกรมเทย์เลอร์ว่า

ทฤษฎีเศษเหลือของอนุกรมเทย์เลอร์ ถ้า โดยที่ คือ พหุนามเทย์เลอร์ของ f ระดับขั้น n ที่จุด x0 และ แล้ว สำหรับทุก ๆ เรียก ว่ารัศมีการลู่เข้าของอนุกรมเทย์เลอร์

นั่นคือทุก อนุกรม จะลู่เข้า และ สำหรับ และ เสมอ

1.0000000000 1.0000000000 1.0000000000 1.0000000000 0.1 1.1051709181 1.1000000000 1.1051666667 1.1051709167 0.2 1.2214027582 1.2000000000 1.2213333333 1.2214026667 1 2.718281828 2.0000000000 2.6666666667 2.7166666667

แบบฝึกหัด จงหาพหุนามเทย์เลอร์ระดับขั้น n และอนุกรมเทย์เลอร์ที่จุด x0 ของฟังก์ชันที่กำหนด