การประยุกต์ใช้อนุพันธ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Antiderivatives and Indefinite Integration
Advertisements

2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
ประสิทธิภาพการใช้นโยบายภายใต้การวิเคราะห์แบบจำลอง IS-LM
ลำดับเรขาคณิต Geometric Sequence.
หลักสูตรแอนิเมชันเบื้องต้น (สำหรับประยุกต์ใช้ในงานด้านพระพุทธศาสนา)
ความสัมพันธ์ระหว่าง DG กับ อุณหภูมิ
ฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Review of Ordinary Differential Equations
Power Series Fundamentals of AMCS.
บทที่ 1 ทักษะกระบวนการ และโครงงานทางวิทยาศาสตร์
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
1. จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
กราฟ พื้นที่ และ ปริมาตร
ฟังก์ชัน ฟังก์ชันเป็นรูปแบบหนึ่งของความสัมพันธ์ แต่มีกฎเกณฑ์มากกว่านั่นคือ ถ้า f เป็นความสัมพันธ์ หรือเราสามารถเขียนฟังก์ชัน f ในอีกรูปแบบหนึ่งคือ.
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
ความชันและอัตราการเปลี่ยนแปลง
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
อนุกรมกำลัง (power series)
ค่าสุดขีดและจุดอานม้า Extreme Values and Saddle Points
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
การหาปริพันธ์โดยวิธีแทนที่
MATLAB Week 7.
การแปลงลาปลาซ (Laplace transform) เป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถใช้หาผลเฉลยของปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์ “เราจะใช้การแปลงลาปลาซ แปลงจากปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์
CALCULUS III ส่วนที่ 2 : สมการเชิงอนุพันธ์ อาจารย์ ดร.เจษฎา ตัณฑนุช.
ปฏิบัติการคอมพิวเตอร์เรื่อง การหาค่าอินติกรัลเชิงตัวเลข การหาค่าอนุพันธ์เชิงตัวเลข อ.ดร.ชโลธร ธรรมแท้ สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ปฏิบัติการคอมพิวเตอร์เรื่อง การแก้สมการเชิงอนุพันธ์
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
เฉลยแบบฝึกหัด 1.5 จงพิจารณาว่า ฟังก์ชันในข้อต่อไปนี้ไม่มีความต่อเนื่องที่ใดบ้าง วิธีทำ เนื่องจากฟังก์ชัน และ.
อนุพันธ์อันดับหนึ่ง ( First Derivative )
แคลคูลัส (Calculus) : ศึกษาเกี่ยวกับอัตราการเปลี่ยนแปลงของตัวแปร หนึ่งเทียบกับตัวแปรอื่นๆ 1. ฟังก์ชัน เรากล่าวได้ว่า y เป็นฟังก์ชันของ x เมื่อมีความสัมพันธ์ระหว่าง.
ฟังก์ชัน y เป็นฟังก์ชันของ x ก็ต่อเมื่อ มีความสัมพันธ์ระหว่าง x และ y โดยเราสามารถหาค่า y ได้เมื่อกำหนดค่าของ x ให้ เช่น y = x2+1 เรียก y.
ปฏิยานุพันธ์ (Integral)
หน่วยที่ 3 อินทิกรัลและการประยุกต์
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
พิจารณาโครงสร้างของฟังก์ชันที่นิยามโดยปริยายดังนี้
การหาปริพันธ์ (Integration)
Functions and Their Graphs
ตรีโกณมิติ.
ประมวลการสอนรายวิชา คณิตศาสตร์ 2
คณิตศาสตร์ ในอารยธรรม กรอบความคิดทางคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ กับการใช้งาน
สมการเชิงอนุพันธ์ย่อย สมการเชิงอนุพันธ์ที่มีตัวแปรอิสระเพียงตัวเดียว เรียกว่า สมการเชิงอนุพันธ์ธรรมดา (ordinary differential equation) สมการเชิงอนุพันธ์ที่มีตัวแปรอิสระมากกว่า.
Orientation to practice
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University
อาจารย์นัณฑ์ศิตา ชูรัตน์
บทที่ 1 ลิมิตของฟังก์ชัน
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
การเพิ่มผลผลิต Productivity
สวัสดี...ครับ.
: Introduction to DATABASE (ฐานข้อมูลเบื้องต้น)
ธรรมชาติเชิงคลื่นของสสาร
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ
หลักสูตรคณิตศาสตร์ ประเทศจีน
อนุพันธ์ของฟังก์ชัน Derivative of function
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงก์ลิสต์
ครูปพิชญา คนยืน. ทักษะ กระบวนการ ทาง คณิตศาสตร์ หน่วยการ เรียนรู้ที่ 8.
โครงสร้างข้อมูลและอังกอลิทึม
 วัตถุประสงค์ของบทเรียน นับว่าเป็นส่วนสำคัญยิ่ง ต่อกระบวนการเรียนรู้ ที่ผู้เรียนจะได้ทราบถึงความ คาดหวังของบทเรียนจากผู้เรียน นอกจากผู้เรียนจะ ทราบถึงพฤติกรรมขั้นสุดท้ายของตนเองหลังจบ.
ความชันและสมการเส้นตรง
บทที่ 2 กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ (ต่อ)
คำสั่ง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้อง โดยการคลิ้กเม้าหน้าตัวเลือกที่ถูกต้อง
เส้นโค้งกับอนุพันธ์ สัมพันธ์กันอย่างไร?
บทที่ 7 การสร้างและการใช้งาน ฟังก์ชัน อาจารย์ชนิดา คำเพ็ง สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
วิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน เพื่อปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประยุกต์ใช้อนุพันธ์

ความชัน หมายถึงอัตราส่วนของการเปลี่ยนแปลง ความชัน (slope) ความชัน หมายถึงอัตราส่วนของการเปลี่ยนแปลง ของค่า y ต่อค่า x ความชัน

(0,1) (1,0) (-1,0) (0,-1)

(0,2) (0,1) (-1,0) (-2,-1)

(0,1) (0,0) (-1,0) (4,-3)

(0,1) (0,0) (1,0) (4,-3)

(-4,3) (2,3) (0,1) (-1,0)

(-5,0) (5,0) (-2,-1) (0,-1)

ความหมายของอนุพันธ์ในเชิงเรขาคณิต มักจะหมายถึง “ความชัน”

f(x) เป็นฟังก์ชันเพิ่ม ถ้า x2>x1 แล้ว f(x2)>f(x1)

f(x) เป็นฟังก์ชันลด ถ้า x2>x1 แล้ว f(x2)<f(x1)

f(x) เป็นฟังก์ชันคงตัว ถ้า f(x2)=f(x1) ทุกๆ ค่า x1,x2

ถ้า f '(x)>0 ทุกๆ ค่า a<x<b แล้ว

ถ้า f '(x)<0 ทุกๆ ค่า a<x<b แล้ว

ถ้า f '(x)=0 ทุกๆ ค่า a<x<b แล้ว

ความหมายของอนุพันธ์อันดับที่ 2 ในเชิงเรขาคณิต จะหมายถึง “อัตราการเปลี่ยนแปลงความชัน”

เว้าหงาย

เว้าคว่ำ

ฟังก์ชันเพิ่ม เว้าหงาย เว้าคว่ำ

ฟังก์ชันลด เว้าคว่ำ เว้าหงาย

เรียกจุดที่ทำให้ ว่าจุดเปลี่ยนเว้า ฟังก์ชันเพิ่ม ฟังก์ชันลด

จงตรวจสอบว่าฟังก์ชั่นต่อไปนี้เว้าหงาย หรือ เว้าคว่ำ

การหาค่าสูงสุดต่ำสุดสัมพัทธ์ (relative extrema)

ถ้า f(x0) มีค่ามากกว่าค่าอื่นๆ ในย่านใกล้เคียง f(x0) เป็นค่าสูงสุดสัมพัทธ์ (relative maximum) ถ้า f(x0) มีค่ามากกว่าค่าอื่นๆ ในย่านใกล้เคียง f(x0) เป็นค่าต่ำสุดสัมพัทธ์ (relative minimum) ถ้า f(x0) มีค่าน้อยกว่าค่าอื่นๆ ในย่านใกล้เคียง รวมเรียกค่าต่ำสุดสัมพัทธ์ และค่าสูงสุดสัมพัทธ์ ว่าค่าสุดขีดสัมพัทธ์ (relative extremum)

ถ้า หาค่าได้บนช่วงที่มี อยู่ข้างในและ เป็นค่าสูงสุดหรือต่ำสุดสัมพัทธ์แล้ว หรือ หาค่าไม่ได้

ถ้า และ แล้ว เป็นค่าสูงสุดสัมพัทธ์

ถ้า และ แล้ว เป็นค่าต่ำสุดสัมพัทธ์

ถ้า และ แล้ว ไม่สามารถสรุปเกี่ยวกับค่าของ ได้

จงหาค่าและจุดสูงสุด-ต่ำสุดสัมพัทธ์ของ

จงหาค่าและจุดสูงสุด-ต่ำสุดสัมพัทธ์ของ

ถ้าต้องการทำกล่องฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่ไม่มีฝาปิด และมีปริมาตรเท่ากับ 500 ลูกบาศก์นิ้ว โดยให้ใช้ กระดาษในการทำน้อยที่สุด จะต้องทำกล่องให้มี ความสูง และ ฐานยาวด้านละเท่าใด