Physics II Unit 5 ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า และ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา ฟิสิกส์ เรื่อง คลื่น ระดับช่วงชั้นที่ 4
Advertisements

ไฟฟ้ากระแสสลับ Alternating Current
ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current)
CHAPTER 9 Magnetic Force,Materials,Inductance
8.4 Stoke’s Theorem.
ทราบนิยามของ Flux และ Electric Flux Density
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
Conductors, dielectrics and capacitance
8.2 Ampere’s Law “อินทริกรัลเชิงเส้นของสนามแม่เหล็กรอบเส้นทางปิดใดๆมีค่าเท่ากับกระแสที่ผ่านเส้นทางปิดนั้น” สำหรับสนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสเส้นตรงยาวอนันต์
คอยล์ ( coil ) สมพล พัทจารี วิศวกรรมไฟฟ้า.
ตอบคำถาม 1. วงจรไฟฟ้า หมายถึง ตัวนำไฟฟ้า หมายถึง
การวิเคราะห์ความเร็ว
X-Ray Systems.
Welcome to Electrical Engineering KKU.
9.7 Magnetic boundary conditions
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
Rigid Body ตอน 2.
การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป.
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
กระแส และ วงจรไฟฟ้ากระแสตรง
การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ B/
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ EG 3 กันยายน 2551.
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
Physics II Unit 5 Part 2 วงจร RLC.
การประยุกต์ใช้ปริพันธ์ Applications of Integration
เส้นประจุขนาดอนันต์อยู่ในลักษณะดังรูป
MAGNATICALLY COUPLED CIRCUITS
IDEAL TRANSFORMERS.
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
Chapter 5 การประยุกต์ของ อินทิกรัล Applications of Integrals.
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (Projectile motion)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
พฤติกรรมพลวัตมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
บทที่ 4 การแปรสภาพพลังงานกลไฟฟ้า
สื่อการสอนเรื่องแรงบนตัวนำ
Electronic1 อิเล็กทรอนิกส์ 1 Electronic 1.
1 CHAPTER 2 Basic Laws A. Aurasopon Electric Circuits ( )
ตัวเหนี่ยวนำ (Inductor)
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
หม้อแปลง.
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
ระบบไฟฟ้ากับเครื่องกล
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
ไฟฟ้ากระแสตรง Direct Current
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
หน่วยที่ 3 คุณลักษณะสมบัติของ RLC
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ(ตอน 3)
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ AC-Circuits Outline
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
Magnetic Particle Testing
สายสัมพันธ์ไฟฟ้า-แม่เหล็ก
หลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
บทที่ 5 เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ (AC Generator)
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
บทที่ ๗ เรื่องทฤษฎีของเทวินิน
บทที่ ๘ ทฤษฎีของนอร์ตัน
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
DC motor.
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
คำสั่ง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้อง โดยการคลิ้กเม้าหน้าตัวเลือกที่ถูกต้อง
หน้า 1/6. หน้า 2/6 กำลัง หมายถึง อัตราการทำงาน หรือ สิ่งที่บ่งบอกว่า งานที่ทำในเวลานั้น ๆ มีมาก น้อยเพียงไร การคิดจะคล้ายกับงาน นั่นคือ ถ้า เมื่อไรก็ตาม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Physics II Unit 5 ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า และ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ

Michael Faraday Joseph Henry

กระดิ่งแม่เหล็กไฟฟ้าของ Henry

ฟลักซ์แม่เหล็ก

ตัวอย่าง5A วงลวดสี่เหลี่ยมกว้าง w = 15 cm ยาว d = 20 cm วางตัวโดยมีด้าน กว้างด้านหนึ่งซ้อนกับแกน y ดังรูป โดยในบริเวณดังกล่าวสนามแม่เหล็กสม่ำเสมอมีค่า B = 2 T ทิศของสนามชี้ไปตามแกน x ถ้าวงลวดนี้หมุนในแนวรอบแกน y ทำให้ มุม a เปลี่ยนจาก 37o เป็น 53o จงหาว่าฟลักซ์แม่เหล็กที่ผ่านวงลวดนี้เปลี่ยนแปลงไปเท่าใด

I N S v N S I v N S I v การทดลองของ Faraday

กฎการเหนี่ยวนำไฟฟ้าของ Faraday “แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำในวงจรใดๆ มีค่าเท่ากับอัตราการเปลี่ยนแปลงฟลักซ์แม่เหล็กผ่านวงจรนั้นเทียบกับเวลา” “Induced - e.m.f.”

B เปลี่ยน A เปลี่ยน ทิศทางเปลี่ยน

กฎการเหนี่ยวนำไฟฟ้าของ Lenz “แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำจะเกิดในทิศทางที่ส่งผลต้านการเปลี่ยนแปลงของฟลักซ์แม่เหล็กที่เป็นต้นกำเนิดของมัน” I N S Bind v

กฎการเหนี่ยวนำไฟฟ้าของ Faraday & Lenz “Opposite” “Change of Flux” “Induced - e.m.f.”

ตัวอย่าง 5B เส้นลวดตรงยาว l = 10 cm วางอยู่บนรางโลหะรูปตัวยู w = 15 cm ถ้าความต้านทานรวมของวงจรเป็น R = 5 W และมีสนามแม่เหล็กสม่ำเสมอ B = 1 T ในทิศทางตั้งฉากกับระนาบของราง ดังรูป ถ้าสนามแม่เหล็กมีขนาดเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในอัตรา 0.1 T/s (a) จงหาแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำในวงจร (b) จงหากระแสไฟฟ้าในวงจร

ในกรณีนี้ทิศของ I จะทำให้เกิด Bind ในทิศทาง +z ภายในวง

ตัวอย่าง 5C เส้นลวดตรงยาว l = 10 cm ถูกดึงให้ไถลบนรางโลหะรูปตัวยูด้วยความเร็วคงที่ v = 0.2 m/s ในทิศทาง +x ถ้าความต้านทานรวมของวงจรเป็น R = 5 W และมีสนามแม่เหล็กสม่ำเสมอ B = 1 T ในทิศทาง -z ตั้งฉากกับระนาบของราง ดังรูป (a) จงหากระแสไฟฟ้าในวงจร (b) จงหากำลังไฟฟ้าที่สูญเสียในวงจร

ทิศของ I จะทำให้เกิด Bind ในทิศทาง +z ภายในวง หรืออาจคิดจาก P = FextV จะได้คำตอบเท่ากัน

ตัวอย่าง 5D เส้นลวดตรงยาว l = 10 cm ถูกดึงให้ไถลบนรางโลหะรูปตัวยูด้วยความเร็วคงที่ v = 0.2 m/s ในทิศทาง +x ถ้าความต้านทานรวมของวงจรเป็น R = 5 W ในขณะเวลาเริ่มต้น w = 15 cm และมีสนามแม่เหล็กสม่ำเสมอ B = 1 T ในทิศทาง -z ตั้งฉากกับระนาบของราง ดังรูป ถ้าสนามแม่เหล็กมีขนาดลดลงเรื่อยๆในอัตรา 0.1 T/s จงหากระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำในวงจร

ทิศของ I1 จะทำให้เกิด Bind1 ในทิศทาง +z ภายในวง

ตัวอย่าง 5E กรอบลวดรูปสี่เหลี่ยมเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ ผ่านบริเวณที่สนามแม่เหล็กสม่ำเสมอในทิศทางตั้งฉากกับระนาบ กรอบลวดดังรูปจงวาดกราฟระหว่างแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำ ในกรอบลวดกับเวลา

A B C D E A B C D E A B C D E

แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำ “Motional e.m.f.” สนามไฟฟ้าเหนี่ยวนำ

เครื่องกำเนิดไฟฟ้า(Generator) S หมุนขดลวดตัดสนามแม่เหล็กทำให้มุม q เปลี่ยนกับเวลา

N S กระแสไฟฟ้าจะไหลสลับทิศไป-มา ไฟฟ้ากระแสสลับ (A.C.)

สภาพเหนี่ยวนำ (Inductance) S I กระแสที่ไหลผ่านขดลวดโซลินอยด์ทำให้เกิดสนามแม่เหล็กภายใน ฟลักซ์แม่เหล็กที่เพิ่มขึ้นทำให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำ ในทิศทางต้านการเปลี่ยนแปลงของกระแสไฟฟ้า

L “Self Inductance” M “Mutual Inductance”

สภาพเหนี่ยวนำตัวเอง (Self-Inductance) ขดลวดโซลินอยด์ I I

ตัวอย่าง 5F ขดลวดโซลินอยด์ขดหนึ่งมี N = 500 รอบ และยาว 2 cm ถ้าขดลวดนี้มีพื้นที่หน้าตัด A = 0.314 cm2 จะมีสภาพเหนี่ยวนำตนเองเท่าใด

ตัวเหนี่ยวนำ (Inductor)

การต่อตัวเหนี่ยวนำ แบบอนุกรม แบบขนาน