บทร้อยกรอง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สื่อความรู้เพื่อการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
Advertisements

การแต่งกลอน.
จดหมายกิจธุระ.
เขียนร้อยกรอง ไม่ยาก อย่างที่คิด บุญเสริม แก้วพรหม และ คณะ
ศาสนพิธี.
สื่อความรู้เพื่อการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2549
แพทย์ศาสตร์ สงเคราะห์. แพทย์ศาสตร์ สงเคราะห์ เป็นตำราแพทย์ของไทยโบราณ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้รวบรวมขึ้นไว้
คดี มาจากคำว่า คติ แปลว่า การไป การเคลื่อน แบบ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
คำราชาศัพท์ จัดทำโดย นางสาวสมพร อ่อนละออ.
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
คำคล้องจอง หนู ปู ดูรูงู ปูนา ขาเก
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ตา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
พระบรมราโชวาท ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ๓๖ ข้อ
วรรณวิจิตร ไพเราะในร้อยกรอง
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
สื่อการสอน ที่พัฒนาคุณภาพ การเรียนรู้ภาษาไทย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง พยางค์และคำ
คำกริยา.
วรรณคดีเรื่องกาพย์เห่เรือ
ตัวเลขไทย.
คำวิเศษณ์.
คำนาม.
วันมาฆบูชา.
เพลงกล่อมเด็กภาคใต้.
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
การออกแบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
นักเรียนช่วงชั้นที่ 2 (ป.4-6)
งานนำเสนอ เรื่อง กลุ่มดาวฤกษ์.
วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนวชิรป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน
ภาษาวิทยุกระจายเสียง
๙.พยัญชนะท้ายพยางค์ แม่ เกย
เรื่อง คำที่ใช้ รร ( ร หัน)
ยุคสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น
นิทานเวตาล น.ม.ส. เข้าสู่บทเรียน.
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
จัดทำโดย. ๑. ด. ช. ภวัต ผจงเกียรติคุณ ชั้นป. ๕/๘. เลขที่ ๒๑. ๒. ด. ช
วรรณคดีสำคัญสมัยอยุธยาตอนปลาย
รวบรวมข้อมูลมาจาก วิกิพีเดีย
ค่าวคืออะไร       “ค่าว” หมายถึงคำประพันธ์ที่มีลักษณะร้อยสัมผัสสอดเกี่ยวกันไปแบบร่ายและจบลงด้วยโคลงสองหรือโคลงสามสุภาพ  มีหลายชนิดคือ เรื่องที่ปรากฏในเทศนาธรรม.
โครงเรื่อง.
การเขียนรายงาน.
คำสรรพนาม จัดทำโดย ด.ช.ธนวัฒน์ เตชะนิรัติศัย เลขที่ 30
สุนทรภู่ 2. รูปภาพ 3. ภาพวาดลายเส้น 4. กลอน
ประเภทของวรรณกรรม.
ความรู้เกี่ยวกับวรรณกรรม
การอ่านเชิงวิเคราะห์
องค์ประกอบของวรรณคดี
เพลงประกอบการสอน ชุดการสอนเขียนกาพย์ยานี 11 และกลอนสุภาพ
วรรณกรรมในสมัยอยุธยามีอยู่มากตั้งแต่สมัยสมเด็จพระเจ้าอู่ทอง จนตลอดระยะเวลาของ กรุงศรีอยุธยาวรรณกรรมที่ดีเด่นจนได้รับการยกย่องเป็นวรรณคดีมีอยู่หลายเรื่อง.
นางสรัญญา โพธิ์เอี่ยม โรงเรียนวัดตะคร้ำเอน สพป.กจ.2
บทสนทนา การเดินเรื่อง มุมมองของกวี
ความหมายของการวิจารณ์
ชนิดของคำ คำอุทาน ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ
อุโบสถวัดราช บูรณะ ลักษณะ อุโบสถเป็นอาคารก่อ อิฐถือปูน ด้านหน้ามีทางเข้า ๒ ทาง มีประตู ๒ คู่ มีหน้าต่างด้านละ ๔ คู่ รวมเป็น ๘ คู่ พื้นภายในพระอุโบสถยกระดับสูง.
โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 97 (บ้านบางบอน) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาระนอง
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสมุทรปราการ เขต ๑
วรรณคดีสมัย กรุงรัตนโกสินทร์.
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์วรรณคดี
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสมุทรปราการ เขต ๑
วรรณคดีสำคัญในสมัยอยุธยาตอนกลาง
หน่วยที่ ๑๐ การเขียนบทร้อยกรองในงานอาชีพ
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
16. การเขียนรายงานการวิจัย
ขนมมงคล 5 อย่าง ข้อมูล "ขนมไทย" เอกลักษณ์ของความเป็นไทย นอกจากจะมีความงดงามวิจิตร ละเอียดอ่อน พิถีพิถันในทุกขั้นตอนการทำแล้ว ยังมีรสชาติที่อร่อย หอมกลิ่นพืชพรรณจากธรรมชาติ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทร้อยกรอง

ความหมายของการประพันธ์ร้อยกรอง         คำว่าร้อยกรอง เราสามารถแยกศัพท์ได้เป็น 2 คำ คือคำว่า "ร้อย" กับคำว่า "กรอง" ร้อยเป็นคำกริยาหมายถึงการเรียงร้อยหรือการเรียบเรียงถ้อยคำหรืออาจจะเป็นดอกไม้ก็ได้ เช่น ร้อยดอกไม้ คำว่ากรองเป็นคำกริยา หมายถึงการเรียงร้อยกรองเมื่อรวมกัน หมายถึง การกลั่นกรองหรือเรียบเรียงถ้อยคำ เช่นเดียวกับที่เรานำดอกไม้มาร้อยเป็นพวงมาลัย จะมีความงดงามแล้วก็อ่อนหวานไพเราะ ไม่ใช่ว่าเพียงแต่เอาถ้อยคำมาเรียงต่อกันเท่านั้น

ร้อยกรองหมายถึง โครง ฉันท์ กาพย์ กลอน มีถ้อยคำมาประกอบคำประพันธ์กัน

กลอน กลอน กลอนเป็นนิยมมาตั้งแต่สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นเป็นต้นมา ในความหมายที่เราเข้าใจกันบางคนใช้คำว่ากลอนแทน ร้อยกรองทุกประเภท เช่น แต่งกลอน แต่งกาพย์ แต่งฉันท์ก็เรียกว่าแต่งกลอนฉะนั้นกลอนในที่นี้มีความหมาย 2 อย่าง ความหมาย หนึ่งคือ ความหมายรวมของร้อยกรองทุกประเภท ความหมายอีกอย่างหนึ่งคือเป็นคำประพันธ์ประเภทหนึ่ง เช่น กลอนหก กลอนเจ็ด กลอนแปด กลอนดอกสร้อย กลอนสักวา

กาพย์ กาพย์ กาพย์นั้นปรากฏในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ในหนังสือมหาชาติคำหลวง ปัจจุบันนี้กาพย์ที่เรานิยมแต่งกัน ก็คือกาพย์ยานี กาพย์ฉบัง และกาพย์สุรางค์นาง รวมทั้งหมดแล้ว กาพย์ประมาณ 20 ชนิด

โคลง โคลง เป็นคำประพันธ์ที่เก่าแก่มาก ปรากฏในวรรณคดีสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น เช่นลลิตพระลอ โครงเป็นร้อยกรองที่กำหนดจำนวนคำสัมผัสแล้วก็พิเศษคือกำหนดคำเอกคำโท กำหนดวรรณยุกต์เอกโท จึงแต่งค่อนข้างยาก ส่วนในสมัยโบราณนิยมแต่โคลงคั่น ปัจจุบันนี้ไม่ค่อยมีแล้ว

ฉันท์ ฉันท์ เป็นรูปแบบคำประพันธ์ของอินเดียซึ่งไทยเรารับมาใช้ มีคำบังคับ ครุ ลหุ ฉันท์ของอินเดียนั้นไม่กำหนดสัมผัส แต่ว่า ไทยเราคำคล้องจองกันเราจึงเพิ่มสัมผัส ฉันท์นั้นมีประมาณ 100 กว่าชนิด แต่ไทยเรานิยมแต่งและก็ปรากฏในตำราฉันท์ของไทย นั้นมีประมาณ 108 ชนิด

โครงสร้างของคำประพันธ์

กาพย์ แผนผังคำประพันธ์ ๑. กาพย์ยานี ๑๑                                ตัวอย่าง:                                        

กาพย์ ๒. กาพย์ฉบัง ๑๖                            ตัวอย่าง:                                        

กาพย์ ๓.๑ กาพย์สุรางคนางค์ ๒๘                         ตัวอย่าง:                                  

โคลงแต่ละบาท มี ๒ วรรค คือวรรคหน้าและ       วรรคหลัง วรรคหน้าซึ่งเป็นวรรคประธานมี๕ คำส่วนวรรคหลัง แต่ละบาทจำนวนคำจะไม่เท่ากันคือบาทที่ ๑ มี ๒ คำ สามารถเพิ่ม (สร้อยได้อีก ๒ คำ)   บาทที่ ๒ มี คำบาทที่ ๓ มี ๒ คำ สามารถ(เพิ่มสร้อยได้อีก ๒ คำ)บาทที่ ๔ มี ๔ คำ เส้นโยงแต่ละจุด แสดงตำแหน่งบังคับสัมผัส โคลง ๑ บท มี ๔ บาท หรือ ๔ บรรทัด โดยปกติโคลง ไม่ต้องมีสัมผัสระหว่างบท ยกเว้น      เวลาเข้าลิลิต โคลง ๔ สุภาพ    แผน:                                  ตัวอย่าง:                                     ตัวอย่าง:                                     โคลง

โคลง โคลงกระทู้     ๑. กระทู้เดี่ยว หรือกระทู้คำเดียว หมายความว่า กระทู้นั้น มีคำทั้งหมดอยู่ ๔ คำ แต่แยกเอาไปเขียนไว้ข้างหน้า บาทละคำ  ตัวอย่าง:                                    

ฉันท์ ๑. จิตรปทาฉันท์ ๘                          ตัวอย่าง:                                   

ฉันท์ ๒. วิชชุมาลาฉันท์ ๘                         ตัวอย่าง:                                   

กลอน บทที่ ๑         "พระดูเดือน    เหมือนวง  นลาฏน้อง                    สัมผัสผ่อง  ชวนจิต  พิสมัย                    รื่นรื่นกลิ่น   ลำดวน  รัญจวนใจ                    เหมือนเข้าใกล้  กลิ่นนาง   เมื่อกลางวัน"     บทที่ ๒        ซึ้งเอยซึ้ง  กวีรัก สร้อยอักษร                    หวานมนต์กลอน   พระอภัย  เคลิ้มใจฝัน                    ดื่มด่ำถ้อย   สร้อยคำ  ที่จำนรรจ์                    รักรำพัน   เลื่องชื่อ  ระบือนาม

กลอน บทที่ ๑         บุหลัน วันเพ็ญ เด่นฟ้า                   สิบห้า ค่ำเยือน เดือนสาม                   มาฆะ บูชา สง่างาม                   อาราม รุ่งรัตน์ ชัชวาลย์     บทที่ ๒      ระฆัง หงั่งเหง่ง เพลงพลิ้ว                    โพธิ์หวิว ไหวรับ ขับขาน                     สำเนียง เพียงมนต์ ดลมาน                     ซาบซ่าน สุขล้ำ อำไพ ...

ความงามของบทประพันธ์ การสัมผัสสระ การสัมผัสอักษร

ภาษาเพื่อการจรรโลงใจ สิ่งเหล่านี้แสดงถึง ภาษาเพื่อการจรรโลงใจ