พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สื่อความ พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
Advertisements

เรื่องพระราชบัญญัติเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ วิชา คอมพิวเตอร์ จัดทำโดย
ใช้อินเทอร์เน็ตอย่างไร ให้พ้นภัย และไม่ผิด พรบ.
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐
การกำหนดนโยบายด้านความมั่นคงปลอดภัยเพื่อให้สอดรับกับ พรบ
ขอบเขตการใช้กฎหมายอาญา
สถานที่ที่กฎหมายอาญาใช้บังคับ
ไอซีทีปลอดภัย ใครๆ ก็กด.
การสืบสวน สอบสวน การสืบสวน
ขัดคำสั่งผู้บังคับบัญชา
แม่ครูชมัยพร โครตโยธา
คุณธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
รายงาน เรื่อง พระราชบัญญัติเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
การกระทำความผิดเกี่ยวกับพรบ.คอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
บทที่ 9 นวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศในอนาคต
ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System หรือ MIS )
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐
ครั้งที่ ๒/๒๕๕๖ วันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๖ เวลา ๑๓.๓๐ น. – ๑๖.๓๐ น.
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน
การจัดการองค์ความรู้ การจัดการความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ศูนย์สารสนเทศ.
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน
พรบ. คอมพิวเตอร์ พ.ศ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐
หน้าที่ของสมาชิกสหกรณ์
พระราชบัญญัติยา พ.ศ.2510 ประเภทของยา แบ่งตามแผนของการประกอบโรคศิลปะ
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ 2550
พระราชบัญญัติ ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๓๕
๑๓. ๐๐ – ๑๓. ๔๐ น. ๑๓. ๔๐ – ๑๖. ๐๐ น. ๑๓. ๐๐ – ๑๓. ๔๐ น.
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐ รวบรวมโดย พล.ต.ต.เดชาวัต รามสมภพ รอง ผบช.ภ.3.
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐
แนะนำศูนย์ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
ยอดเงินงบประมาณที่สามารถโอน จำนวน 6,118,000 บาท ลำ ดับ ประเภท - รายการ จำน วน ราคาต่อหน่วย ( บาท ) ราคารวม ( บาท ) 1Log Management11,300,000 2 อุปกรณ์
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ พ.ศ.2542
หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สิทธิในการเข้าถึง ข้อมูลข่าวสารราชการ
พ.ร.บ. ว่าด้วยการกระทำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
โครงการฝึกอบรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัย ณ จุดเกิดเหตุบนถนน
กฎหมาย คอมพิวเตอร์ รายชื่อสมาชิก นายธีรศาสตร์ ธาราไทย นางรวิชา ยืนยง
คุณธรรมและจริยธรรม สำหรับ วิทยาการคอมพิวเตอร์
เล่มที่ 134 ตอนที่ 27 ก 18 มิถุนายน 2550
กฎหมาย คอมพิวเตอร์ สำหรับ ผู้บริหาร พ.ต.อ.ญาณพล ยั่งยืน.
มิติทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
กรณีศึกษา “แฮกเกอร์เยอรมันแฮกระบบสแกนรอยนิ้วมือ ไอโฟน 5 เอส”
หน่วยที่ 7 จริยธรรมและความปลอดภัย
พ.ร.บ. ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
4/7/2017 9:01 AM การเตรียมความพร้อมในการปฎิบัติตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ อ.วีระชัย บุญปก : © 2005 Microsoft.
เรื่อง คุณธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ วิชา คอมพิวเตอร์ จัดทำโดย
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 33101
จริยธรรม และ กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ. ศ. ๒๕๕๐.
หลักฐานการสมัคร ( ไม่ต้องใช้ เอกสาร ) 1. ต้องมี ใช้ได้ปกติ 2. หมายเลขประชาชน 3. เลขบัญชีธนาคารเพื่อรับเงิน 4. เตรียมตั้ง username และ password ที่
กฎหมายที่เกี่ยวกับกระบวนงาน การสอบสวนคดีนอกราชอาณาจักร
การเตรียมความพร้อมจากผลการบังคับใช้ (ร่าง) พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ
มิติทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
George Hotz Hacker By Soratin Charaluck.
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ. ศ
ธีรพล สยามพันธ์ ศึกษานิเทศก์ สพท.พัทลุง เขต 1
กฎหมายว่าด้วยความผิดทางคอมพิวเตอร์(แบบสรุป)
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิด
1. ไม่ควรให้ข้อมูลที่เป็นเท็จ 2. ไม่บิดเบือนความถูกต้องของข้อมูล ให้ผู้รับคนต่อไป ได้ข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง 3. ไม่ควรเข้าถึงข้อมูลของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต.
เนื่องจากในปัจจุบันเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ มีการ เชื่อมโยงกันทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ย่อมมีข้อมูลสารสนเทศที่ส่งผ่าน จากผู้ส่ง ไปยัง ผู้รับ และหากเครือข่ายอินเทอร์เน็ตนั้น.
หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ มาตรา ๕ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มี มาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะ และมาตรการนั้น มิได้มีไว้สําหรับตน.
ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550

สังคมดิจิทัล

การกระทำความผิดในสังคมดิจิทัล การรบกวน/แอบแก้ไขข้อมูล การดักข้อมูลคอมพิวเตอร์ การรบกวนระบบคอมพิวเตอร์ การแอบเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ การแอบเข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ Spyware Virus Spam Mail Cyber Attack Hack

การกระทำความผิดในสังคมดิจิทัล ผู้กระทำความผิดอยู่ตรงไหนก็ได้ในโลก มีการใช้เทคโนโลยีที่ซับซ้อน ยากต่อการตรวจพบร่องรอย ยากต่อการจับกุม และนำผู้กระทำผิดมาลงโทษ ความเสียหายกระทบคนจำนวนมาก และรวดเร็ว

มีผลบังคับใช้แล้ว วันพุธที่ 18 กรกฎาคม 2550 พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๐ มีผลบังคับใช้แล้ว วันพุธที่ 18 กรกฎาคม 2550

เจตนารมณ์ของกฎหมาย เพื่อกำหนด ฐานความผิด และบทลงโทษ อำนาจหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ หน้าที่ของผู้ให้บริการ

บทลงโทษ ฐานความผิด โทษจำคุก โทษปรับ มาตรา ๕ เข้าถึงคอมฯ โดยมิชอบ มาตรา ๕ เข้าถึงคอมฯ โดยมิชอบ ไม่เกิน 6 เดือน ไม่เกิน 10,000 มาตรา ๖ ล่วงรู้มาตรการป้องกัน ไม่เกิน 1 ปี ไม่เกิน 20,000 มาตรา ๗ เข้าถึงข้อมูลโดยมิชอบ ไม่เกิน 2 ปี ไม่เกิน 40,000 มาตรา ๘ การดักข้อมูลคอมพิวเตอร์ ไม่เกิน 3 ปี ไม่เกิน 60,000 มาตรา ๙ การรบกวนข้อมูลคอมพิวเตอร์ ไม่เกิน 5 ปี ไม่เกิน 100,000 มาตรา ๑๐ การรบกวนระบบคอมพิวเตอร์ ไม่เกิน 5 ปี ไม่เกิน 100,000

บทลงโทษ ฐานความผิด โทษจำคุก โทษปรับ มาตรา ๑๑ สแปมเมล์ - ไม่เกิน 100,000 มาตรา ๑๒(๑) ก่อความเสียหายแก่ข้อมูล ไม่เกิน 10 ปี (และ) ไม่เกิน 200,000 มาตรา ๑๒(๒) กระทบความมั่นคง 3 - 15 ปี 60,000 - 300,000 มาตรา ๑๒ เป็นเหตุให้เสียชีวิต 10 – 20 ปี - มาตรา ๑๓ จำหน่าย/เผยแพร่ชุดคำสั่ง ไม่เกิน 1 ปี ไม่เกิน 20,000 มาตรา ๑๔ เผยแพร่เนื้อหาไม่เหมาะสม ไม่เกิน 5 ปี ไม่เกิน 100,000

บทลงโทษ ฐานความผิด โทษจำคุก โทษปรับ มาตรา ๑๕ ความรับผิดของผู้ให้บริการ ไม่เกิน 5 ปี ไม่เกิน 100,000 มาตรา ๑๖ การตัดต่อภาพ ไม่เกิน 3 ปี ไม่เกิน 60,000

การปฏิบัติของผู้ใช้บริการ อย่าบอก password ของท่านแก่ผู้อื่น อย่าให้ผู้อื่นยืมใช้เครื่องคอมพิวเตอร์หรือโทรศัพท์เคลื่อนที่เพื่อเข้าเน็ต อย่าติดตั้งระบบเครือข่ายไร้สายในบ้านหรือที่ทำงานโดยไม่ใช้มาตรการการตรวจสอบผู้ใช้งานและการเข้ารหัสลับ อย่าเข้าสู่ระบบด้วย user ID และ password ที่ไม่ใช่ของท่านเอง อย่านำ user ID และ password ของผู้อื่นไปใช้งานหรือเผยแพร่ อย่าส่งต่อซึ่งภาพหรือข้อความ หรือภาพเคลื่อนไหวที่ผิดกฎหมาย อย่า กด "remember me" หรือ "remember password" ที่เครื่องคอมพิวเตอร์สาธารณะ และอย่า log-in เพื่อทำธุรกรรมทางการเงินที่เครื่องสาธารณะ ถ้าท่านไม่ใช่เซียนทาง computer security อย่าทำผิดตามมาตรา ๑๔ ถึง ๑๖ เสียเอง ไม่ว่าโดยบังเิอิญ หรือโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์

คำถาม : เหตุการณ์ต่อไปนี้มีความผิดตามพรบ.ข้อใด การที่เราส่ง E-mail ไปรบกวนบุคคลอื่นบ่อยๆ เช่น Forword mail โดยที่เขาไม่ต้องการ เป็นความผิดตาม พรบ.คอมพิวเตอร์ มาตราข้อใด? มาตรา 11 มีโทษปรับไม่เกิน 100,000 บาท 2) ส่งรูปพี่เคน ธีรเดชที่ถูกเติมหนวด แต่งคิ้ว ทาปากแดง เข้าไปในเว็บบอร์ด มาตรา 16 มีโทษไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 60,000 บาท 3) แอบไปขโมยข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ของคนอื่น มีความผิดพรบ. คอมพิวเตอร์ ตามมาตราข้อใด? มาตรา 7 มีโทษไม่เกิน 2 ปี ปรับไม่เกิน 40,000 บาท

คำถาม : เหตุการณ์ต่อไปนี้มีความผิดตามพรบ.ข้อใด 4) แอบดูรหัสเข้าคอมพิวเตอร์ของพี่โดม ภายหลังแอบเข้าไปดูว่ามีอะไรน่าสนใจหรือไม่ ตอนที่เขาไม่อยู่ มาตรา 5 โทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน ปรับไม่เกิน 10,000 บาท 5) ทำเว็บบอร์ดให้ชาวไทยเข้าไปเขียนเรื่องซุบซิบ นักแสดง นักร้อง นักการเมือง มาตรา 15 มีโทษไม่เกิน 5 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บาท 6) การกระทำความผิดกรณีใดไม่ถูกปรับ และ กรณีใดไม่ถูกจำคุก ไม่ถูกปรับ : ใช้คอมพิวเตอร์เป็นเหตุให้ผู้อื่นเสียชีวิต จำคุก 10-20 ปี ไม่ถูกจำคุก : การส่งเมลล์รบกวนผู้อื่นบ่อยๆ ปรับไม่เกิน 100,000 บาท

ความผิดตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ที่ทุกคนควรทราบ (สรุปแบบเข้าใจง่ายๆ) ความผิดตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ที่ทุกคนควรทราบ (สรุปแบบเข้าใจง่ายๆ) มีผลบังคับใช้ไปแล้วตั้งแต่วันที่ 18 ก.ค.50 1) เจ้าของไม่ให้เข้าระบบคอมพิวเตอร์ของเขา แล้วเราแอบเข้าไป … จำคุก 6 เดือน 2) แอบไปรู้วิธีการเข้าระบบคอมพิวเตอร์ของชาวบ้าน แล้วไปประกาศให้คนอื่นรู้ … จำคุกไม่เกิน 1 ปี 3) ข้อมูลของเขา เขาเก็บไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ดีๆ แล้วแอบไปขโมย… จำคุกไม่เกิน 2 ปี 4) เขาส่งข้อมูลหากันผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบส่วนตัว เราไปดักจับข้อมูล… เจอคุกไม่เกิน 3 ปี 5) ข้อมูลของเขาอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ของเขา แล้วเราไปปรับแก้ข้อมูลเขา… เจอคุกไม่เกิน 5 ปี 6) ยิง virus หรือ trojan หรือ worm เข้าไปก่อกวนจนระบบเขาเสียหาย … จำคุกไม่เกิน 5 ปี 7) ส่ง E-mail หาเขาบ่อยๆโดยที่เขาไม่ได้อยากได้เลย สร้างความเดือดร้อน… ปรับไม่เกินหนึ่งแสน 8) ถ้าเราทำผิดข้อ 5. กับ ข้อ 6. แล้วมันสร้างความพินาศใหญ่โต งานนี้ จำคุกสิบปีขึ้นไป 9) ถ้าเราสร้างซอฟต์แวร์เพื่อช่วยให้ใครๆทำเรื่องแย่ๆในข้อข้างบนได้ … จำคุกไม่เกินปีนึง เหมือนกัน 10) โป๊ก็โดน, โกหกก็โดน, เบนโลก็โดน, ท้าทายอำนาจรัฐก็โดน … เจอคุกไม่เกิน 5 ปี 11) ใครเป็นเจ้าของเว็บ แล้วยอมให้เกิดข้อ 10. โดนเหมือนกัน … เจอคุกไม่เกิน 5 ปี 12) ถ้าเราเรียกให้ชาวบ้านเข้ามาดูงานของศิลปินข้างถนน ซึ่งชอบเอารูปชาวบ้านมาตัดต่อ เตรียมใจไว้เลยมีโดน… เจอคุกไม่เกิน 3 ปี 13) คนไทยทำผิดที่เว็บไซต์ซึ่งอยู่เมืองนอก มีความผิดแน่นอน 14) คนต่างประเทศทำผิดกับเรา แล้วอยู่เมืองนอกอีกต่างหาก เราเป็นคนไทย ก็เรียกร้องเอาผิดได้เหมือนกัน