เกอร์ลาชและอีไล(Gerlach and Ely)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ
Advertisements

ความหมายของสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ สะท้อนธรรมชาติวิทยาศาสตร์
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรช่างอุตฯ2
การศึกษารายกรณี.
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
ADDIE model หลักการออกแบบของ
ครูเสน่ห์ อุ่นสิม จำใจเสนอ.
หลักการออกแบบของ ADDIE model ADDIE model
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
หน่วยการเรียนเรื่อง ป้ายนิเทศเพื่อการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
เพื่อรับการประเมินภายนอก
หลักการพัฒนา หลักสูตร
องค์ประกอบ e-Learning และ WBI
การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
สื่อการเรียนการสอน.
การวัดและประเมินพัฒนาการของผู้เรียน
การวิเคราะห์ผู้เรียน
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การวิเคราะห์ข้อสอบ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
ความสำคัญและมโนทัศน์พื้นฐานของการวัดและประเมินผลการศึกษา
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การวัดผล (Measurement)
หน่วยที่ 3 สื่อการเรียนรู้สำหรับคอมพิวเตอร์พกพา (Tablet) กิจกรรมที่2 การผลิต การใช้ การประเมินผล สื่อ ICT.
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
รูปแบบการสอน.
การปลูกพืชผักสวนครัว
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
บทที่ 6 การเปลี่ยนแปลงเข้าสู่การออกแบบระบบ การประเมินทางเลือกซอฟท์แวร์
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
การประเมินแผนการสอน สุธาสินี ศรีวิชัย
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร “ การนิเทศการศึกษา ” สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร 11 – 13 มีนาคม 2552 ณ สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคล Individualized Education Program (IEP)
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
สุจิตรา บำรุงกาญจน์ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู ภาคเหนือ
บทบาทสมมติ (Role Playing)
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
ทบทวนความรู้เดิม (Activate Prior Knowledge)
การออกแบบการสอน รูปแบบ ADDIE Model
การสอนโดยใช้บทเรียนโปรแกรม
ADDIE Model.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ กับการพัฒนานวัตกรรม
การสร้างสื่อ e-Learning
การวางแผนการใช้สื่อ    การใช้สื่อการสอนต้องมีการวางแผน โดยในขั้นของการวางแผนคือ การ พิจารณาว่าจะเลือกใช้สื่อใด ในการเรียนการสอน ในการใช้สื่อใน การเรียนการสอนการวางแผนการใช้สื่อนับเป็นขั้นตอนแรก.
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
หลักการออกแบบของ ADDIE model
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
L/O/G/O รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร ของ OLIVA โดย นางสาว ศศิวิมล จันทรังษี
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
ชื่อเรื่อง ความคิดเห็นที่มีต่อการเรียนการ สอน สาขาวิชาการจัดการทั่วไป ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางเยาวลักษณ์ อา ลักษณสุวรรณ.
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
วิธีการสอนโดยใช้เกม (Game)
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เกอร์ลาชและอีไล(Gerlach and Ely) นักทฤษฏีวิธีระบบ เกอร์ลาชและอีไล(Gerlach and Ely)

เกอร์ลาช และ อีไล (Gerlach & Ely รูปแบบวิธีระบบของ เกอร์ลาช และ อีไล (Gerlach & Ely

การสอนวิธีระบบของ เกอร์ลาชและอีไล การสอนวิธีระบบของ เกอร์ลาชและอีไล การกำหนดยุทธศาสตร์การสอน การจัดกลุ่มผู้เรียน การกำหนดเนื้อหาสาระ การจัดเวลาเรียน การจัดสถานที่เรียน การเลือกสื่อการสอนที่เหมาะสม การประเมินพฤติกรรมเบื้องต้น การกำหนดวัตถุประสงค์ การประเมินผลการเรียน การวิเคราะห์ข้อมูลย้อนกลับ

องค์ประกอบวิธีระบบของเกอร์ลาช และอีไล 1. การกำหนดเนี้อหาสาระ คือ การเลือกเนื้อหา เพื่อนำมาช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ และบรรลุวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่ตั้งไว้ จะดำเนินควบคู่กับการกำหนดวัตถุประสงค์

2. การกำหนดวัตถุประสงค์ คือ วัตถุประสงค์ที่กำหนดขึ้น ควรเป็นวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม หรือวัตถุประสงค์เฉพาะที่ผู้เรียนสามารถปฏิบัติได้ และครูสามารถวัด และสังเกตเห็นได้

การประเมินพฤติกรรมเบื้องต้น เป็นขั้นตอนของการศึกษาข้อมูลของผู้เรียนว่ามีความรู้พื้นฐานเพียงพอที่จะเรียนเนื้อหาสาระที่กำหนดไว้ได้หรือไม่ ซึ่งอาจกระทำได้โดยการทดสอบการสัมภาษณ์ การตรวจสอบจากทะเบียนการเรียน 3.

4. การกำหนดยุทธศาสตร์การสอน 4.1 การสอนแบบป้อน เป็นการสอนที่ครูจะเป็นผู้ป้อนความรู้ต่างๆ ทั้งหมดให้กับผู้เรียน 4.2 การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ แบบนี้ครูจะมีบทบาทเป็นเพียงแต่ผู้เตรียมสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ 

5. การจัดกลุ่มผู้เรียน เป็นการจัดกลุ่มเพื่อให้ได้เรียนรู้ร่วมกัน ดังนั้นในการจัดแบ่งกลุ่มผู้เรียนจะต้องพิจารณาจากวัตถุประสงค์ เนื้อหา และยุทธศาสตร์การสอน ซึ่งสามารถยืดหยุ่นได้

6.การจัดเวลาเรียน ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ เนื้อหา สถานที่ การบริการ และความสามารถตลอดจนความสนใจของผู้เรียน 7.การจัดสถานที่เรียน  ห้องเรียนปกติโดยทั่วไปจะมีผู้เรียนประมาณ30- 40 คน ในห้องจะมีโต๊ะสำหรับผู้เรียน โต๊ะสำหรับครู กระดานป้ายนิเทศ

8.การเลือกสื่อการสอนที่เหมาะสม ได้แก่การเลือกสื่อ และแหล่งวิทยาการที่เหมาะสม 9.การประเมินผลการเรียน เป็นการตรวจสอบดูว่าผู้เรียน ได้รับความรู้ หรือมีความเปลี่ยนแปลงไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เพียงใด

10. การวิเคราะห์ข้อมูลย้อนกลับ เป็นการพิจารณาตรวจสอบหาข้อบกพร่องเพื่อปรับปรุงแก้ไขต่อไป

ที่มา วิรุฬห์ ลีลาพฤทธิ. กระบวนการสื่อสารและการสอนวิธีระบบ.กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2531 สงัด อุทรานันท์. เทคนิคการจัดการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2529 http://www.drpaitoon.com