จิตวิทยาการบริหารทีมงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คุณบันฑูร ล่ำซำ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ธนาคารกสิกรไทย "...มีผู้ใหญ่ท่านหนึ่งให้ข้อคิดว่า ทรัพย์สินที่ เราคิดว่ามี จริง ๆ ไม่ใช่ของเรา เพราะสุดท้ายก็จะตกไปหาลูกหลาน.
Advertisements

การลดความวิตกกังวล.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
รายงานผลการศึกษาทางจิตวิทยา นักเรียนหญิงก่อเหตุทำร้ายกัน
อาจารย์อนุวัตร ธรรมปริพัตรา
เทคนิคการสัมภาษณ์งานแบบวัด (Competency)
การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นพื้นฐาน
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง
Session 2 “ใช้เรื่องเล่า พาเข้าหลักคิด”
พฤติกรรม เบี่ยงเบนทางเพศ.
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
เรื่อง อารมณ์ในวัยเด็ก
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
การคิดและวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ
ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม
LEARNING ORGANIZATION
อารมณ์ (Emotion) จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
Cognitive Development
เพื่อเป็นการทำความเข้าใจตนเองและผู้อื่น พื้นฐานในการสร้างมนุษยสัมพันธ์
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
การจัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ : ทำไม อะไรอย่างไร โดยใคร ???
การพัฒนาความเป็นผู้นำ
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
( Organization Behaviors )
สุขภาพจิต และการปรับตัว
ผู้นำกับประสิทธิภาพในการทำงาน
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
ปัญหาที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในวัยรุ่น
(Individual and Organizational)
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
การส่งเสริมและป้องกัน ปัญหานักเรียน
Self Esteem ดร. กรรณิกา คำดี.
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
วิเคราะห์พฤติกรรมที่เป็นปัญหา
เทคนิคการสร้างเสริมเด็กวัยเรียน
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
พฤติกรรม / การกระทำที่ สะท้อนความมีคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล ดร. สมโภชน์ นพคุณ รองเลขาธิการ ก. พ. สำนักงาน ก. พ.
การสร้างวินัยเชิงบวก
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
บุคลิกภาพกับการเป็นผู้นำที่มีจิตสำนึก
บทที่ 4 การศึกษาตนเอง By chotika thamviset.
ประเภท ระดับ และพฤติกรรมการเรียนรู้
ตามแนวพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
เรื่องราวทางสังคม (SOCIAL STORY)
พลัง อึด ฮึด สู้ อึด...ทนต่อแรงกดดัน วิธีการ : คิดเชิงบวก ควบคุม อารมณ์ ลดความเครียด คลายอารมณ์ ฮึด...มีกำลังใจวิธีการ : self talk , ขอจากคนอื่น , แรงศรัทธา.
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
บทที่ 17 อิทธิพลของสถานการณ์
Cognitive of Depressive Disorder
นางนวธัญย์พร ศรีจันทร์ พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ประมวลผลการเรียนรู้ การพัฒนาหลักสูตร E Learning "นพลักษณ์ฯ ขั้นต้น” 5 มิถุนายน -18 กันยายน 2551 สวทช. นำประสบการณ์จากกิจกรรมเชื่อโยงกับ Core Competency.
วงจรของการเห็นคุณค่าแห่งตน
บทบาทสมมติ (Role Playing)
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
กิจกรรมละลายพฤติกรรม
ความแตกต่างระหว่างวัยรุ่นชายและวันรุ่นหญิง
การสื่อสารด้วยใจคลายวิกฤต
ทฤษฎีการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิเคราะห์Psychoanalysis
เทคนิคการสื่อสารกับผู้ปกครอง (Communication Skill)
ความต้องการของผู้ใหญ่ใน การเรียนรู้ 4 ด้านคือ 1. เพื่อที่จะได้เพิ่มพูนบางอย่าง (To gain something) 2. เพื่อที่จะได้เป็นบางสิ่ง (To be something) 3. เพื่อที่จะได้ทำบางสิ่ง.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
อบรมปฏิบัติการ จัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
การศึกษาเพื่อสืบสวนหา ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับความเป็นมาของ สิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือเหตุการณ์ใด เหตุการณ์หนึ่ง จากหลักฐานที่ได้มี บันทึกเก็บไว้ หรือประสบการณ์จากผู้รู้
ผศ. ดร. อุไร หัถกิจ คณะพยาบาลศาสตร์ มอ.
การเสริมสร้างพลังอำนาจ ในผู้ดูแลผู้ป่วยมะเร็งเต้านมในระยะแพร่กระจาย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จิตวิทยาการบริหารทีมงาน รศ.ดร.ดาราวรรณ ต๊ะปินตา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

จิตวิทยาการบริหารทีมงาน การรู้จักคนและพฤติกรรมของคน การรู้จักตน การรู้จักผู้อื่น การสื่อสาร การบริหารความขัดแย้ง

1. การรู้จักคนและพฤติกรรมของคน

ความคิด อารมณ์ ความคิด สรีระ ความคิด พฤติกรรม

อารมณ์ สรีระ อารมณ์ พฤติกรรม สรีระ พฤติกรรม

รูปแบบความสัมพันธ์ของ การคิด พฤติกรรม อารมณ์ และสรีระ สิ่งเร้า การคิด พฤติกรรม อารมณ์ สรีระ

ทฤษฎีพฤติกรรมปัญญานิยม สิ่งเร้า กระบวนการทางปัญญา พฤติกรรม+อารมณ์ ผลกรรม A B1 B2 C

A = สิ่งเร้าหรือเงื่อนไขนำ Sp = สิ่งเร้าหรือเงื่อนไขนำที่เชื่อมโยงกับ C- Sd = สิ่งเร้าหรือเงื่อนไขนำที่เชื่อมโยงกับ C+ S = สิ่งเร้าหรือเงื่อนไขนำที่ ไม่เชื่อมโยงกับ C ใดๆ

ทุกๆสิ่งที่เกิดขึ้นในกระบวนการคิด B1 = กระบวนการทางปัญญา ทุกๆสิ่งที่เกิดขึ้นในกระบวนการคิด (ตัวอย่างเช่น การแปลความ ความคาดหวัง การคิด การให้คุณค่า ทัศนคติ ความเชื่อ การพูดกับตนเองในใจ ความคิดอัตโนมัติทางลบ การให้ความหมายต่อสิ่งใดๆก็ตาม) ฯลฯ

B2 = พฤติกรรมและอารมณ์ ที่แสดงออกมาและสังเกตได้วัดได้ตรงกัน

C = ผลการกระทำ C + = เกิดตามหลัง B แล้วทำให้ B เกิดขึ้นสม่ำเสมอหรือเกิดเพิ่มขึ้น C - = เกิดตามหลัง B แล้วทำให้ B ลดลงหรือหยุดไป C = การที่ B เกิดรุนแรงขึ้นเพราะ B ดังกล่าวเคยได้ C+ แต่ถูกตัด C+ดังกล่าวไป

รูปแบบของการคิด (Cognitive Model) การเลี้ยงดูในวัยเด็ก ความเชื่อพื้นฐานที่อยู่ในระดับลึก ประสบการณ์ (Core belief) ที่ผ่านมา ความเชื่อที่อยู่ในระดับกลาง (Intermediate belief) สิ่งเร้า ความคิดอัตโนมัติ ผล (Automatic thoughts) 1. อารมณ์ 2. พฤติกรรม 3. สรีระ

ความเชื่อพื้นฐานในระดับลึก (Core belief) เป็นความเชื่อที่พัฒนามาตั้งแต่เด็กๆ เป็นความเชื่อเกี่ยวกับตนเองและผู้อื่น รวมถึงความเชื่อเกี่ยวโลกและชีวิต เป็นความเชื่อเบื้องต้นของคน มักอยู่ลึกและคนส่วนใหญ่จะไม่ค่อยรับรู้ มักจะแผ่ขยายไปยังเรื่องหลายๆเรื่อง มักจะเป็นตัวยิงความคิดอัตโนมัติที่ซ้ำๆ ออกมาบ่อยๆ เมื่อมีเรื่องมากระตุ้น

ความเชื่อที่อยู่ในระดับกลาง (Intermediate belief) มีผลมาจากความเชื่อพื้นฐานที่อยู่ในระดับลึก ตัวอย่างเช่น ทัศนคติ (attitude) กฎส่วนตัว (rule) ข้อยอมรับเบื้องต้น (assumption)

ความคิดอัตโนมัติ หมายถึงกระแสของความคิด ที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วต่อสถานการณ์ และส่งผลต่ออารมณ์ พฤติกรรม และสรีร ของบุคคล ความคิดอัตโนมัติเป็นความคิดปกติที่เกิดขึ้นในทุกคน ทั้งในคนที่ปกติและผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิต มักเป็นความคิดที่บุคคลมักจะไม่รู้ตัว ไม่ได้ตระหนักในการคิดอัตโนมัติของตนเอง

ตัวอย่างลักษณะความคิดที่ก่อให้เกิดทุกข์ คิดเพียงด้านใดด้านหนึ่ง (All or none thinking) คิดมากกว่าความเป็นจริงแบบเหมารวม(Overgeneralization) คิดคาดเดาไปล่วงหน้า (Catastrophizing /fortune telling)

ตัวอย่างลักษณะความคิดที่ก่อให้เกิดทุกข์ การแปลความหมายโดยปราศจากเหตุผล (Emotional reasoning) การตีตรา (Labeling) การขยายต่อเติมหรือตัดทอนเรื่องราว(Magnification/minimization) การคิดเดาใจผู้อื่น (Mind reading)

ตัวอย่างลักษณะความคิดที่ก่อให้เกิดทุกข์ การคิดต่อเหตุการณ์ต่างๆว่า ควร หรือ ต้อง (Should and must statement) การเลือกที่จะเชื่อหรือคิดในสิ่งที่ตนเองคิดหรือมีความเชื่อ(Mental filter) การคิดเกี่ยวกับตนเองจากเหตุการณ์ที่ไม่เกี่ยวกับตนเอง(Personalization)

2. การรู้จักตน การรู้จักผู้อื่น

สติ (Mindfulness)

3. การสื่อสาร

วิเคราะห์ลักษณะการสื่อสารแบบ TA (Transactional Analysis) 1.1 ลักษณะแบบผู้ปกครอง (Parent Ego State - P) คือ บุคลิกภาพที่มีลักษณะคล้ายพ่อแม่ หรือผู้ปกครอง 1.2  ลักษณะแบบผู้ใหญ่ (Adult Ego State - A) คือ บุคลิกภาพที่มีลักษณะเป็นผู้ใหญ่ หรือ ผู้มีวุฒิภาวะสมบูรณ์ 1.3 ลักษณะแบบเด็ก (Child Ego State - C) คือ บุคลิกภาพที่มีลักษณะของความเป็นเด็ก

ตัวอย่างการสื่อสารระหว่างบุคคล คนที่ 1 คนที่ 2 P P A A C C

ตัวอย่างการสื่อสารระหว่างบุคคล คนที่ 1 คนที่ 2 P P A A C C

หัวใจของการบริหารทีมงาน เป้าหมายของทีมเป็นหลัก ให้เวลาเพื่อเดินไปด้วยกัน พัฒนาความรู้และทักษะที่ยังขาด ความสำเร็จและความล้มเหลวเป็นของทีม การรับผิดและรับชอบ การเข้าใจโลกและชีวิตที่แท้