หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
เศรษฐศาสตร์แรงงาน ศ. 471 สหภาพแรงงาน
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายได้ของผู้บริโภค
การเลือกคุณภาพสินค้า
ตัวอย่างการประยุกต์อุปสงค์/อุปทาน
การประยุกต์ใช้องค์ประกอบของต้นทุนการผลิตเพื่อการบริหารอย่างมืออาชีพ
Training Management Trainee
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
ตัวอย่าง: ตลาดปัจจัยการผลิตที่มีผู้ซื้อรายเดียว
การประยุกต์ 1. Utility function
ราคาและวิธีการกำหนดราคา
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
อุปสงค์ อุปทาน และ การกำหนดราคา Applications
Revision Problems.
Q1. การที่ Supply เลื่อนระดับดังภาพ เกิดขึ้นเนื่องจากสาเเหตุใดบ้าง ?
กลไกราคากับผู้บริโภค
บทที่ 6 โปรแกรมเชิงเส้น Linear Programming
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 1 อัตราส่วน.
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
MARKET PLANNING DECISION
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
ปัญหาเศรษฐกิจที่สำคัญและแนวทางแก้ไข
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
บทที่ 7 รายรับ รายรับจากการผลิต ลักษณะของเส้นรายรับต่างๆ
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
เงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
เงินเฟ้อ และเงินฝืด.
เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics)
พฤติกรรมผู้บริโภค.
มาตรการรับจำนำข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2554/55
ความยืดหยุ่นอุปสงค์ และอุปทาน อ. ศิวาพร ทรงวิวัฒน์
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
ตัวอย่างการพยากรณ์ยอดขาย
บทที่ 8 รายรับและกำไรจากการดำเนินธุรกิจ
โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
Demand in Health Sector
บทที่ 4 การกำหนดขึ้นเป็นรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
บทที่ 4 การกำหนดเป็นดุลยภาพของตลาดการเปลี่ยนแปลง ภาวะดุลยภาพ และการแทรกแซงดุลยภาพของตลาด ความหมายของดุลยภาพของตลาด ดุลยภาพ (Equilibrium ) หมายถึง ภาวะสมดุลที่เกิดขึ้นเมื่ออุปสงค์เท่ากับอุปทานโดยจุดดุลยภาพจะแสดงราคาดุลยภาพ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
เงินเฟ้อ และการว่างงาน
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ ราคาดุลยภาพ (Equilibrium Price) คือ ระดับราคาที่ทำให้ปริมาณเสนอซื้อและ ปริมาณเสนอขายเท่ากันพอดี

ตารางแสดงราคาดุลยภาพและปริมาณดุลยภาพ ปริมาณซื้อ ราคา ปริมาณขาย 210 150 100 60 30 10 3 4 5 6 7 8 130 160

P Q 15 20 D S 5 100 จุดดุลยภาพ ราคาดุลยภาพ ปริมาณดุลยภาพ

ราคาดุลยภาพ ระดับราคาที่ปริมาณสินค้าและบริการที่ ผู้บริโภคต้องการซื้อในขณะนั้นเท่ากับจำนวน สินค้าและบริการที่ผู้ผลิตต้องการขายใน ขณะเดียวกันนั้นพอดี (Qd = Qs) ปริมาณดุลยภาพ ปริมาณสินค้าและบริการที่ระดับราคาดุลยภาพ

อุปทานส่วนเกิน S D 28 8 Supply > Demand = 28 - 8 = 20 P Q 10 5 15 10 5 15 20 25 30 D S 28 8 อุปทานส่วนเกิน = 28 - 8 = 20

S D 26 16 Demand > Supply = 26 - 16 = 10 อุปสงค์ส่วนเกิน P Q 10 5 10 5 15 20 25 30 D S 26 16 Demand > Supply = 26 - 16 = 10 อุปสงค์ส่วนเกิน

การเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพ อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/การเปลี่ยนแปลงภาวะดุล หนังสือหน้า 30 เลขหน้า 2/44 การเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพ โดยปกติ ภาวะดุลยภาพของตลาดจะดำรงอยู่ได้นาน ไม่เปลี่ยนแปลงจากเดิม ตราบเท่าที่อุปสงค์และอุปทานยังไม่ เปลี่ยนแปลง แต่ถ้าปัจจัยกำหนดอุปสงค์และอุปทาน ตัวใด ตัวหนึ่งหรือหลายตัว (ยกเว้นราคาของสินค้าและบริการชนิด นั้น) เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งมีผลทำให้เส้นอุปสงค์หรือเส้น อุปทานเปลี่ยนแปลงไปแล้วย่อมทำให้ภาวะดุลภาพ เปลี่ยนแปลงไปด้วย

กรณีเกิดการย้ายเส้นอุปสงค์ในขณะที่เส้นอุปทานอยู่คงที่ 1.1 กรณีอุปสงค์เพิ่ม P Q D1 S1 E1 P1 Q1 D2 E2 P2 Q2 Q3

กรณีเกิดการย้ายเส้นอุปสงค์ในขณะที่เส้นอุปทานอยู่คงที่ 1.2 กรณีอุปสงค์ลด P Q D1 S1 E1 P1 Q1 D2 E2 Q3 P2 Q2

กรณีเกิดการย้ายเส้นอุปทานในขณะที่เส้นอุปสงค์อยู่คงที่ 2.1 กรณีอุปทานเพิ่ม P Q D1 S1 E1 P1 Q1 S2 E2 Q3 P2 Q2

กรณีเกิดการย้ายเส้นอุปทานในขณะที่เส้นอุปสงค์อยู่คงที่ 2.2 กรณีอุปทานลด S2 P Q D1 S1 E1 P1 Q1 E2 P2 Q2 Q3

3 อุปสงค์และอุปทานเปลี่ยนแปลงไปพร้อมกันในทิศทางเดียวกัน อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/การเปลี่ยนแปลงภาวะดุล หนังสือหน้า 31 เลขหน้า 2/47 3 อุปสงค์และอุปทานเปลี่ยนแปลงไปพร้อมกันในทิศทางเดียวกัน

4 อุปสงค์และอุปทานเปลี่ยนแปลงไปพร้อมกันในทิศทางตรงกันข้าม

อุปสงค์เพิ่ม = อุปทานลด อุปสงค์เพิ่ม = อุปทานลด S2 P Q D1 S1 E1 P1 Q1 D2 E2 P2 Q2

อุปสงค์เพิ่ม > อุปทานลด อุปสงค์เพิ่ม > อุปทานลด S2 D2 P Q D1 S1 E1 P1 Q1 E2 P2 Q2

อุปสงค์เพิ่ม < อุปทานลด อุปสงค์เพิ่ม < อุปทานลด S2 P Q D1 S1 E1 P1 Q1 D2 E2 P2 Q2

การเข้าแทรกแซงตลาดของรัฐบาล การประกันราคาขั้นต่ำ (Price Support or Minimum Price) การกำหนดราคาขั้นสูง (Price Ceiling)

การประกันราคาขั้นต่ำ ระบบราคาทำให้สินค้ามีราคาต่ำมากเกินไป รัฐบาลเข้ามาแทรกแซง ประกันราคา ราคาประกันหรือราคาขั้นต่ำ ต้องสูงกว่าราคาดุลยภาพเสมอ

1. การประกันราคาขั้นต่ำโดยรัฐบาลรับซื้ออุปทาน ส่วนเกิน : การที่รัฐบาลประกาศราคาประกัน และใช้ กฏหมายบังคับให้ผู้ซื้อทุกรายซื้อสินค้าในราคาประกันนั้น มิฉะนั้นจะมีความผิดตามกฏหมาย

รัฐใช้งบประมาณ = 30 x (150 - 50) = 3,000 P Q 100 D S 20 30 150 50 อุปทานส่วนเกิน รัฐใช้งบประมาณ = 30 x (150 - 50) = 3,000

: รัฐกำหนดราคาขั้นต่ำไว้ แต่จะปล่อยให้ซื้อขายกันตามกลไกราคาปกติ 2. การประกันราคาขั้นต่ำโดยรัฐบาลจ่าย เงินอุดหนุนให้แก่เกษตรกร : รัฐกำหนดราคาขั้นต่ำไว้ แต่จะปล่อยให้ซื้อขายกันตามกลไกราคาปกติ

รัฐใช้งบประมาณ = (30 - 20) x 100 = 1,000 P Q 100 D S 20 รัฐใช้งบประมาณ = (30 - 20) x 100 = 1,000 30 100

ราคาขั้นสูงหรือราคาควบคุม ต้องต่ำกว่าราคาดุลยภาพเสมอ การกำหนดราคาขั้นสูง ระบบราคาทำให้สินค้ามีราคาสูงมากเกินไป รัฐบาลเข้ามาแทรกแซง ราคาควบคุม ราคาขั้นสูงหรือราคาควบคุม ต้องต่ำกว่าราคาดุลยภาพเสมอ

S D ราคาในตลาดมืด อุปสงค์ส่วนเกิน P (บาท) Q (ล้านหน่วย) 15 300 400 200 15 300 ราคาในตลาดมืด 400 200 5 25 อุปสงค์ส่วนเกิน Q ที่มีการขายจริง

แบบฝึกหัดบทที่ 3 1. จุดดุลยภาพแสดงให้ทราบถึงอะไร 2 แบบฝึกหัดบทที่ 3 1. จุดดุลยภาพแสดงให้ทราบถึงอะไร 2. ถ้าอุปสงค์ของข้าวโพดเพิ่มขึ้น 10% และอุปทานเพิ่มขึ้น 40% ราคาดุลยภาพของข้าวโพดจะเปลี่ยนแปลงอย่างไร 3. ถ้าอุปสงค์เพิ่มขึ้นและอุปทานคงที่จะเป็นผลให้เกิดอะไร 4. ในภาวะหลังสงครามใหม่ๆ Demand และ Supply สำหรับสินค้าประเภทอาหารจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร และมีผลต่อราคาอย่างไร 5. การกักตุนสินค้า เกิดตลาดมืด เป็นผลที่เกิดจากการที่รัฐดำเนินมาตรการอะไร