รับและแสดงผลข้อมูล.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การควบคุมตำแหน่งการแสดงผล และการจัดวางข้อมูลบนจอภาพ
Advertisements

โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
ฟังก์ชั่นในภาษาซี.
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
การแสดงผล และการรับข้อมูล การแสดงผล และการรับข้อมูล.
Control Statement if..else switch..case for while do-while.
การรับค่าและแสดงผล.
การรับและการแสดงผลข้อมูล
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
Structure Programming
องค์ประกอบของโปรแกรม
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
Visual Basic 6 By Samaporn Yendee VB6.
การแสดงผล และการรับข้อมูล
PHP LANGUAGE.
ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.
Lecture no. 2: Overview of C Programming
เรื่อง ประเภทของข้อมูล
การรับข้อมูลเบื้องต้นโดยใช้ฟังก์ชั่น scanf
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
Arrays.
Week4 Data types, Variables, Operators and Input/output (ต่อ)
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
หน่วยที่ นิพจน์ในภาษา C
บทที่ ไลบรารีฟังก์ชัน
หน่วยที่ 1 พื้นฐานภาษา C
อาร์เรย์และข้อความสตริง
ตัวอย่างโปรแกรมคำนวณหาพื้นที่สี่เหลี่ยม
การคำนวณทางคณิตศาสตร์ ตัวดำเนินการ
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
ฟังก์ชันรับข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
แถวอักขระ (string) ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ใบงานที่ 7 การรับและแสดงผลข้อมูล
อาจารย์นัณฑ์ศิตา ชูรัตน์
การรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้น
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ทบทวน กันก่อน .....กระบวนการแปลโปรแกรม
Week 2 Variables.
Week 12 Engineering Problem 2
การประมวลผลสายอักขระ
Computer Programming for Engineers
ความหมาย การประกาศ และการใช้
2 /* ข้อความนี้เป็นเพียงคำอธิบาย ไม่มีผลต่อขั้นตอนการ ทำงานของโปรแกรม */ /* A simple program to display a line of text */ #include void main ( ) { printf.
Overview of C Programming
คำสั่งรับค่า และ แสดงผลค่า. คำสั่งรับ - แสดงผล 1. printf( ) เป็น ฟังก์ชันที่ใช้ในการ แสดงผลข้อมูลที่อยู่ในตัว แปร ค่าคงที่ นิพจน์ออกมา ทางจอภาพ.
โครงสร้างภาษาซี #include <stdio.h> void main() {
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
Output of C.
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
โครงสร้าง ภาษาซี.
CONDITION Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka.
บทที่ 5 รหัสควบคุมและ การคำนวณ C Programming C-Programming.
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รับและแสดงผลข้อมูล

แสดงผลออกทางหน้าจอ           การทำงานพื้นฐานเรียกได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งในการทำงานของทุกโปรแกรมคือ การแสดงผลข้อมูลออกทางจอภาพโดยใน ภาษา C  นั้น  การแสดงผลข้อมูลออกทางจอสามารถทำได้ดังนี้

คำสั่ง Printf เป็นคำสั่ง แสดงข้อมูลออกทางจอภาพทุกชนิดไม่ว่าจะเป็น เลขทศนิยม (คำสั่ง int),(ทศนิยม float) ,(ข้อความ string) เป็นคำสั่ง พื้นฐานที่มีความยืดหยุ่น

รูปแบบการเขียนคำสั่งดังนี้ Printf(“format,variable”); format      ข้อมูลที่ต้องการแสดงผลออกทางหน้าจอ  โดยข้อมูลนี้ต้องเขียนไว้ในเครื่องหมาย "  "  ข้อมูลที่สามารถแสดงผลได้มีอยู่ 2 ประเภท คือ  ข้อความธรรมดา  และค่าที่เก็บไว้ในตัวแปร  ซึ่งถ้าเป็นค่าที่เก็บไว้ในตัวแปรต้องใส่รหัสควบคุมรูปแบบให้ตรงกับชนิดของข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปรนั้นด้วย

variable      ตัวแปรหรือนิพจน์ที่ต้องการนำค่าไปแสดงผลให้ตรงกับรหัสควบคุมรูปแบบที่กำหนดไว้

ตัวอย่างการใช้คำสั่ง printf แสดงผลข้อความธรรมดาออกทางหน้าจอ ดังนี้ Printf(“Supapon”); = แสดงข้อความ Supapon ออกมาบนจอภาพ Printf(“VCT2/2”); = แสดงข้อความ VCT2/2 ออกมาบนจอภาพ

#include<stdio.h> #include<conio.h> void main() { printf(“Supapon Sawasdipan”); getch(); } ผลลัพธ์ที่ได้คือ Supapon Sawasdipan

รหัสควบคุมรูปแบบการแสดงผลค่าของตัวแปรออกทางหน้าจอ แสดงได้ดังนี้ รหัสควบคุมรูปแบบการแสดงผลค่าของตัวแปรออกทางหน้าจอ  แสดงได้ดังนี้   รหัสควบคุมรูปแบบการนำไปใช้งาน %d= แสดงผลค่าของตัวแปรชนิดจำนวนเต็ม %u= แสดงผลค่าของตัวแปรชนิดจำนวนเต็มบวก %f= แสดงผลค่าของตัวแปรชนิดจำนวนทศนิยม %c= แสดงผลอักขระ 1 ตัว %s= แสดงผลข้อความ หรืออักขระมากกว่า 1 ตัว

รหัสควบคุมรูปแบบการแสดงผลค่าของตัวแปรออกทางหน้าจอ แสดงได้ดังนี้ รหัสควบคุมรูปแบบการแสดงผลค่าของตัวแปรออกทางหน้าจอ  แสดงได้ดังนี้ จัดรูปแบบการแสดงผลให้ดูเป็นระเบียบมากขึ้น  อย่างเช่นขึ้นบรรทัดใหม่  หลังแสดงข้อความ  หรือเว้นระยะแท็บระหว่างข้อความ  โดยใช้อักขระควบคุมการแสดงผลร่วมกับคำสั่ง printf

อักขระควบคุมการแสดงผล \n = ขึ้นบรรทัดใหม่ \t = เว้นช่องว่างเป็นระยะ 1 แท็บ (6 ตัวอักษร) \r = กำหนดให้เคอร์เซอร์ไปอยู่ต้นบรรทัด \f = เว้นช่องว่างเป็นระยะ 1 หน้าจอ \b = ลบอักขระสุดท้ายออก 1 ตัว

คำสั่งรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด   การทำงานของโปรแกรมส่วนใหญ่มักจะเป็นการเชื่อมโยงกับผู้ใช้แบบ  2  ทิศทาง  คือ  ทั้งภาคของการแสดงผลการทำงานออกทางหน้าจอ  และภาคของการรับข้อมูลจากผู้ใช้เข้ามาทางคีย์บอร์ด  เพื่อร่วมในการประมวลผลของโปรแกรม 

คำสั่ง  scanf()           ในภาษา C  การรับข้อมูลจากคีย์บอร์ดสามารถทำได้โดยการเรียกใช้ฟังก์ชัน  scanf()  ซึ่งเป็นฟังก์ชันมาตรฐานสำหรับรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด  โดยสามารถรับข้อมูลได้ทุกประเภท  ไม่ว่าจะเป็นจำนวนเต็ม  ทศนิยม  อักขระ หรือข้อความ 

รูปแบบคำสั่ง  scanf() scanf("format",&variable); format  เป็นการใช้รหัสควบคุมรูปแบบ  เพื่อกำหนดชนิดของข้อมูลที่จะรับเข้ามาจากคีย์บอร์ด โดยรหัสควบคุมรูปแบบใช้ชุดเดียวกับคำสั่ง printf()

variable      ตัวแปรที่จะใช้เก็บค่าข้อมูลที่รับเข้ามาจากคีย์บอร์ด  โดยชนิดของตัวแปรจะต้องตรงกับรหัสควบคุมรูปแบบที่กำหนดไว้  นอกจากนี้หน้าชื่อของตัวแปรจะต้องนำหน้าด้วยเครื่องหมาย  &  ยกเว้นตัวแปรสตริง  สำหรับเก็บข้อความเท่านั้นที่ไม่ต้องนำหน้าด้วยเครื่องหมาย &

Enter The Length is : 15 Enter The Width is : 5 The area is : 75 #include <stdio.h> #include <conio.h> void main() {   clrscr();   int x,y,sum;   printf("Enter The Length is : ");   scanf ("%d",&x);   printf("Enter The Width is : ");   scanf ("%d",&y);   sum = x*y;   printf("The area is :%d",sum); getch(); } ผลลัพธ์โปรแกรม Enter The Length is   : 15 Enter The Width is     : 5 The area is             : 75

ฟังก์ชัน getch( ) ฟังก์ชัน getch() ใช้สำหรับรับข้อมูลชนิดอักขระเข้ามาจาก keyboard โดยรับข้อมูลได้ครั้งละ1 อักขระ แต่การรับข้อมูลด้วยฟังก์ชัน getch() เมื่อผู้ใช้กรอกข้อมูลเข้ามา 1 อักขระแล้ว โปรแกรมจะทำงานต่อทันทีโดยไม่ต้องกดปุ่ม <Enter> และอักขระที่กรอกจะไม่แสดงขึ้นมาให้เห็นบนหน้าจอ รูปแบบ variable = getch(); โดย variable เป็นชื่อของตัวแปรชนิด char ซึ่งจะใช้เก็บค่าของอักขระ ที่รับเข้ามาจาก keyboard