บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 ประยุกต์ทฤษฎีอุปทานแรงงาน
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
ตัวแบบอรรถประโยชน์ (utility theory)
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายได้ของผู้บริโภค
ตัวแบบเส้นความพอใจเท่ากัน(indifference curve)
การเลือกคุณภาพสินค้า
ตัวอย่างการประยุกต์อุปสงค์/อุปทาน
Lecture 8.
Training Management Trainee
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
ทฤษฏีพฤติกรรมผู้บริโภค
ส่วนเกินของผู้บริโภค (consumer surplus)
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
อุปสงค์ อุปทาน และ การกำหนดราคา Applications
Q1. การที่ Supply เลื่อนระดับดังภาพ เกิดขึ้นเนื่องจากสาเเหตุใดบ้าง ?
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 1 อัตราส่วน.
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
บทที่ 7 รายรับ รายรับจากการผลิต ลักษณะของเส้นรายรับต่างๆ
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
พฤติกรรมผู้บริโภค.
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการ การตรึงราคา/กำหนดระดับราคาน้ำมัน
ณัฏฐวุฒิ เอี่ยมอินทร์
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความยืดหยุ่นอุปสงค์ และอุปทาน อ. ศิวาพร ทรงวิวัฒน์
การนำ การคิด แบบหญิงยุคใหม่
ความหมายของวิทยาศาสตร์
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Demand in Health Sector
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
บทที่ 4 การกำหนดเป็นดุลยภาพของตลาดการเปลี่ยนแปลง ภาวะดุลยภาพ และการแทรกแซงดุลยภาพของตลาด ความหมายของดุลยภาพของตลาด ดุลยภาพ (Equilibrium ) หมายถึง ภาวะสมดุลที่เกิดขึ้นเมื่ออุปสงค์เท่ากับอุปทานโดยจุดดุลยภาพจะแสดงราคาดุลยภาพ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ตลาด ( MARKET ).
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
เงินเฟ้อ และการว่างงาน
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน

อุปสงค์ ( effective demand) อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายอุปสงค์ หนังสือหน้า 13 เลขหน้า 2/2 อุปสงค์ ( effective demand) “ปริมาณความต้องการสินค้าและบริการ ชนิดใดชนิดหนึ่งที่ผู้บริโภคต้องการซื้อภายใน ระยะเวลาที่กำหนดให้ ณ ระดับราคาต่าง ๆ กัน ของสินค้าชนิดนั้น โดยมีอำนาจซื้อ (Purchasing Power) สนับสนุน ”

อุปสงค์ส่วนบุคคลและอุปสงค์ตลาด (Individual Demand and Market Demand) : ปริมาณสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งของผู้บริโภค แต่ละคน ณ ระดับราคาต่างๆ ของสินค้านั้น อุปสงค์ตลาดสำหรับสินค้าใดๆ (Market Demand) : ปริมาณสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งที่ผู้ซื้อทุกคน ในตลาดเต็มใจที่จะซื้อ ณ ระดับราคาสินค้าต่างๆ

ปริมาณซื้อ (ลิตร/สัปดาห์) 20 + 12 = 32 16 + 10 = 26 12 + 8 = 20 10 + 4 = 14 8 + 0 = 8 12 10 8 4 20 16 5 15 25 ปริมาณซื้อรวม ข ก ปริมาณซื้อ (ลิตร/สัปดาห์) ราคานม (บาท/ลิตร)

อุปสงค์ส่วนบุคคลของ ก และ ข 5 15 10 20 25 30 P Q Dก Dข DM 16 26 อุปสงค์ตลาด อุปสงค์ส่วนบุคคลของ ก และ ข

ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ ปริมาณความต้องการในสินค้าและบริการจะมากหรือ น้อยเพียงใด นอกจากจะขึ้นอยู่กับราคาสินค้าชนิดนั้นแล้ว ยังขึ้นอยู่กับปัจจัยอื่นๆ เช่น รายได้ของผู้บริโภค ราคา สินค้าอื่นที่เกี่ยวข้อง รสนิยมของผู้บริโภค

อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ฟังก์ชันอุปสงค์ หนังสือหน้า 15 เลขหน้า 2/8 ฟังก์ชันอุปสงค์ (demand function) คือ ฟังก์ชั่นที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณความต้องการซื้อสินค้าและบริการกับปัจจัยที่กำหนดปริมาณความต้องการซื้อสินค้าหรือบริการของผู้บริโภค

ปัจจัย Px ราคาสินค้า I รายได้ของผู้บริโภค สินค้าปกติ สินค้าด้อยคุณภาพ Py ราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้อง สินค้าใช้ประกอบกัน สินค้าทดแทนกัน T รสนิยม

รายได้ของผู้บริโภค ความสัมพันธ์ระหว่างความต้องการซื้อสินค้าชนิด หนึ่งกับรายได้ของผู้บริโภค สินค้าปกติ (Normal Goods) สินค้าด้อยคุณภาพ (Inferior Goods)

สินค้าปกติ (Normal Goods) อุปสงค์ต่อนม นมเป็นสินค้าปกติ ราคานมคงที่ รายได้ Q นม รายได้ Q นม ความสัมพันธ์เป็นไปใน เชิงบวก เมื่อสินค้านั้นเป็นสินค้าปกติ

สินค้าด้อยคุณภาพ (Inferior Goods) อุปสงค์ต่อการใช้บริการรถเมล์ ราคาค่าบริการรถเมล์คงที่ รายได้ Q รถเมล์ รายได้ Q รถเมล์ ความสัมพันธ์เป็นไปใน เชิงลบ เมื่อสินค้านั้นเป็นสินค้าด้อยคุณภาพ

สินค้าที่ใช้ประกอบกัน (Complementary Goods) นมและขนมปังเป็นสินค้าที่ใช้ ประกอบกัน อุปสงค์ต่อนม ถ้าราคานมคงที่ แต่ราคาขนมปังเพิ่มขึ้น Q ขนมปัง Q นม Pขนมปัง เป็นสินค้าประกอบกัน กฏของอุปสงค์ ความสัมพันธ์เป็นไปใน ตรงกันข้าม

สินค้าที่ใช้ทดแทนกัน (Substitution Goods) นมและน้ำเต้าหู้เป็นสินค้าที่ใช้ ทดแทนกันได้ อุปสงค์ต่อนม ถ้าราคานมคงที่ แต่ราคาน้ำเต้าหู้เพิ่มขึ้น Pเต้าหู้ Q เต้าหู้ Q นม เป็นสินค้าทดแทนกัน กฏของอุปสงค์ ความสัมพันธ์เป็นไปใน ทางเดียวกัน

กฎของอุปสงค์ (law of demand) อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/กฎของอุปสงค์ หนังสือหน้า 15 เลขหน้า 2/10 กฎของอุปสงค์ (law of demand) “ ถ้าสิ่งอื่น ๆ อยู่คงที่ จำนวนซื้อสินค้าและบริการ ชนิดใดชนิดหนึ่งย่อมเปลี่ยนแปลงในทิศทางตรงกันข้าม กับราคาของสินค้าและบริการชนิดนั้นเสมอ ” คำกล่าวนี้ คือ “ กฎอุปสงค์ ” (low of demand)

อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ตารางและเส้นอุปทาน หนังสือหน้า 23 เลขหน้า 2/32 ตารางอุปสงค์ คือ ตารางตัวเลขที่แสดงถึงความสัมพันธ์ ระหว่างราคาสินค้ากับปริมาณความ ต้องการซื้อสินค้าหรือบริการชนิดนั้นๆ

ตารางที่ 1 ตารางอุปสงค์ในการซื้อสมุดของนาย ก. อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ตารางอุปสงค์ หนังสือหน้า 16 เลขหน้า 2/13 ตารางที่ 1 ตารางอุปสงค์ในการซื้อสมุดของนาย ก. ราคา (บาท/เล่ม) จำนวนซื้อสมุดของนาย ก. (เล่ม/เดือน) 3 6 9 15 4 2

อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ตารางอุปสงค์ หนังสือหน้า 17 เลขหน้า 2/14 เส้นอุปสงค์เฉพาะบุคคล (individual demand curve) ซึ่งเป็นเส้นที่ลาดลงจากซ้ายไปขวา และ จากบนลงล่าง เส้นอุปสงค์ในการซื้อสมุดของ นาย ก เส้นอุปสงค์เฉพาะบุคคล

การเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์ การเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อ (Change in Qunatity Demand) การเปลี่ยนแปลงของเส้นอุปสงค์หรือการย้ายเส้น อุปสงค์ (Shifts in the Demand Curve)

การเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อ (Change in Qunatity Demand) การเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้ออันเนื่องมาจาก ปัจจัยโดยตรงหรือราคาสินค้านั้น โดยปัจจัยที่มี ผลโดยอ้อมทั้งหลายนั้นสมมติว่ามีค่าคงที่

การเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อ เดิม P = 15  Q = 12 B C P(บาท/ลิตร) Q (ลิตร/สัปดาห์) 10 5 15 20 25 16 เส้นอุปสงค์ไม่เปลี่ยนแปลง 12 A ใหม่ P = 20  Q = 10 ใหม่ P = 10  Q = 16

การเปลี่ยนแปลงของเส้นอุปสงค์หรือการย้าย เส้นอุปสงค์ (Shifts in the Demand Curve) ปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์โดยอ้อมตัวใดตัวหนึ่ง หรือหลายตัวเปลี่ยนแปลงไป ทำให้ปริมาณซื้อ เปลี่ยนแปลง ในขณะที่ราคาสินค้านั้นคงเดิม ซึ่งจะมีผลทำให้เส้นอุปสงค์เดิมเลื่อนไปทั้งเส้น

การย้ายเส้นอุปสงค์ Q P Q อุปสงค์เพิ่ม Q อุปสงค์ลด 5 10 15 20 25 20 16 12 10 8 25 20 18 15 12 15 12 8 5 3

D2 P(บาท/ลิตร) Q 10 5 15 20 25 D1 12 18 อุปสงค์เพิ่ม

P(บาท/ลิตร) Q (ลิตร/สัปดาห์) 10 5 15 20 25 D1 D2 อุปสงค์ลด

อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความแตกต่าง หนังสือหน้า 21 เลขหน้า 2/24 เส้นอุปสงค์ D จะเปลี่ยนไปทางขวามือ เป็นเส้น D1 เมื่อ • ต้องการปริมาณซื้อ  • I  • Py  • T  เส้นอุปสงค์ DD จะเปลี่ยนไปทางขวามือ เป็นเส้น D D เมื่อ • I  • P  (P  ) • P  • D ดีขึ้น • T  • S (ในฤดูกาล) 1 1 s z i

อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความแตกต่าง หนังสือหน้า 21 เลขหน้า 2/26 P เส้นอุปสงค์ D จะเปลี่ยนไปทางซ้ายมือ เป็นเส้น D2 เมื่อ • ต้องการปริมาณซื้อ  • I  • Py  • T  2 2 s c z i

II. เมื่อปัจจัยอื่นๆ เปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์ (Change in Demand) D Qx (หน่วย) Px (บาท)          I.   เมื่อราคาของสินค้าเปลี่ยนแปลง โดยสิ่งอื่นๆ คงที่ เป็นการเปลี่ยนแปลงภายในเส้นเดิม    A B Qx (หน่วย) Px (บาท) D0 II. เมื่อปัจจัยอื่นๆ เปลี่ยนแปลง โดยราคาคงที่ เส้นอุปสงค์ เลื่อนออกจากเส้นเดิม D1 P0 Q0 Q1

แบบฝึกหัดบทที่ 2 1. จงตอบว่าข้อต่อไปนี้เป็นอุปสงค์หรือไม่ ก. สมชายส่งเสื้อยืดขายที่ห้างเซ็นทรัล ข. สมศรีซื้อคุกกี้เพื่อเป็นของขวัญปีใหม่แก่เพื่อน 2. ตามกฎอุปสงค์เมื่อราคาน้ำอัดลมสูงขึ้นจาก 7บาท เป็น 8 บาท จะเกิดอะไรขึ้น ถ้ากล้องถ่ายรูปมีราคาสูงขึ้น อุปสงค์ของฟิล์มถ่ายรูปจะเป็นเช่นไร การที่เส้นอุปสงค์เคลื่อนย้ายไปทางขวาทั้งเส้นเกิดจากสาเหตุใด จากฟังก์ชันอุปสงค์ หมายถึงอะไร จงยกตัวอย่างสินค้าทีใช้ทดแทนกันได้ 3 ชนิด จงยกตัวอย่างสินค้าทีใช้ประกอบกัน 3 ชนิด ผู้บริโภคมีรายได้มากจะซื้อสินค้าด้อยคุณภาพมากหรือน้อย ถ้ารายได้ของผู้บริโภคลดลง เส้นอุปสงค์จะเปลี่ยนแปลงอย่างไร เขียนรูปอธิบาย ถ้ารสนิยมผู้บริโภคเพิ่ม เส้นอุปสงค์จะเปลี่ยนแปลงอย่างไร เขียนรูปอธิบาย