การจัดการอุปกรณ์รับ และแสดงผล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
Advertisements

การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 3 ระบบคอมพิวเตอร์.
โครงสร้างของระบบปฏิบัติการ Operating System Structure
ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (Multiprogramming System)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
Deadlocks oslecture07.
ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System)
การเลือกซื้อสเปคคอม จัดทำโดย นาย ธนวัฒน์ แซ่ลิ้ม ม.4/2 เลขที่ 25
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
นงลักษณ์ พรมทอง วิเชษฐ์ พลายมาศ
บทที่ 9 การเลือกซื้อใช้งาน และ การติดตั้ง อุปกรณ์เครือข่าย
ความหมาย และวิวัฒนาการ ของ ระบบปฏิบัติก าร.
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
ซอฟต์แวร์.
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Operating System ฉ NASA 4.
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (WEB PROGRAMMING) บทที่ 1 ความรู้เบื้งต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวด์เว็บ และโปรโตคอลที่เกี่ยวข้อง โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร.
การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย
การทำงานของคอมพิวเตอร์
โครงสร้างการทำงานของ OS
ปฏิบัติการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
แนะนำรายวิชา ระบบปฏิบัติการ ภาคเรียนที่ 1/2557
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
What’s P2P.
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
Charter 11 1 Chapter 11 ระบบปฏิบัติการ Operation System : OS.
องค์ประกอบทางด้านซอฟต์แวร์
บทที่ 5 ระบบปฏิบัติการและ หลักการทำงานเบื้องต้น
กิจกรรมที่ 1 ซอฟต์แวร์ระบบ จุดประสงค์ 1. บอกความหมายของซอฟต์แวร์
DEADLO CK นางสาวเบญจวรรณ จิตร ถวิล วันนี้เริ่มต้นเรียนบทที่ 7 หน้า 237 ในตำรา เรียนจะเกี่ยวกับ deadlocks คือ สิ่งที่รู้อยู่แล้ว คือ สิ่งที่ทำให้แอพพลิเคชั่นหรือบางครั้งถ้า.
Synchronization น.ส.จิรภัทร ทองนพคุณ รหัสนิสิต กลุ่ม 1 Operating System.
รูปแบบของปัญหา (System Model) กระบวนการหนึ่งๆ จะต้องร้องขอใช้ ทรัพยากรก่อนที่จะได้ใช้ทรัพยากรก่อน ได้ใช้ทรัพยากรนั้น และจะต้องคืน ทรัพยากรนั้นกลับสู่ระบบเมื่อใช้เสร็จ.
ภาวะติดตาย (Deadlock)
Deadlocks รูปแบบของปัญหา (System Model)         กระบวน การหนึ่งๆ จะต้องร้องขอใช้ทรัพยากรก่อนที่จะได้ใช้ทรัพยากรก่อนได้ใช้ทรัพยากรนั้น.
บทที่ 7 Deadlock Your company slogan.
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
การทำงานของคอมพิวเตอร์
บุคลากรคอมพิวเตอร์.
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
กิจกรรมที่ 1 ซอฟต์แวร์ระบบ จุดประสงค์ 1. บอกความหมายของซอฟต์แวร์
บทที่ 3 การจ่ายงาน (Process Management).
อธิบายหลักการทำงาน บทบาท และประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
พนธกร หาดี (ptk.toomyai.ac.th) 1 ง หน่วยการเรียนรู้ที่ 5.
กิจกรรมที่ เครือข่ายและ Internet explorer จุดมุ่งหมาย ให้ผู้เรียนรู้จักการใช้ประโยชน์ จากเครือข่าย ให้ผู้เรียนรู้จักการใช้ประโยชน์ จากเครือข่าย ให้ผู้เรียนรู้จักวิธีการเผยแพร่
ซอฟต์แวร์ที่บริหารจัดการข้อมูลแบบกระจาย
เครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์
… Cache …L1,L2.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Network Management and Design
รูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่าย
วิชา การปฏิบัติการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
Input / Output ธนวัฒน์ แซ่เอียบ.
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
Software ซอฟต์แวร์.
นางสาวกนกอร ศิริอำนาจ กลุ่ม 2.  บทที่ 7 หน้า 237 ในหนังสือเรียนโอเอส ใน บทนี้จะเป็นเรื่องเกี่ยวกับ deadlocks คือ สิ่งที่น่าจะ รู้อยู่แล้ว ก็คือ.
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Deadloc ks. วันนี้เราเริ่มต้นเรียนบทที่ 7 เริ่มในหน้า 237 ในตำรา เรียนของคุณ. บทนี้จะเกี่ยวกับ deadlocks คือ สิ่งที่คุณรู้, มันคือ สิ่งที่ทำให้ application.
Operating System.
จัดทำโดย.... นางสาววริศรา ทาวรรณ์ เลขที่ 35 ชั้น ม.4/13
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย
2 มิ. ย 2547 โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ 1 บทที่ 1 แนะนำเทคโนโลยีจาวา Introduction to Java Technology.
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Chapter7b Deadlock. Daedlocl ( วงจรอัป ) คือ สภาวะที่โพรเซส บางตัวหรือทุกตัวไม่สามารถทำงานต่อไปได้ ส่วนใหญ่เกิดจากการใช้ทรัพยากรร่วมกันแล้ว เกิดการแย่งชิง.
ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ Operating System
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการอุปกรณ์รับ และแสดงผล บทที่ 6 การจัดการอุปกรณ์รับ และแสดงผล

หน้าที่ของระบบปฏิบัติการเกี่ยวกับ การจัดการอุปกรณ์ ตรวจสอบสถานการณ์ทำงานของอุปกรณ์ และเก็บข้อมูลที่สำคัญต่าง ๆ ของอุปกรณ์นั้น เพื่อเป็นข้อมูลในการจัดการอุปกรณ์ กำหนดว่าอุปกรณ์ชิ้นใดใครเป็นผู้ใช้ และใช้นานเท่าใด โดยที่ ระบบปฏิบัติการจะให้ใครใช้อุปกรณ์ การจัดสรร (Allocate) การเรียกคืน (Deallocate)

หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ เกี่ยวกับการจัดการอุปกรณ์ เทคนิคการจัดการอุปกรณ์มี 3 ประเภท การยกให้ (Dedicate Device) การแบ่งปัน (Shared Device) การจำลองอุปกรณ์ (Virtual Device)

โดยทั่วไปจำแนกอุปกรณ์ได้ 2 ประเภท ประเภทของอุปกรณ์ โดยทั่วไปจำแนกอุปกรณ์ได้ 2 ประเภท อุปกรณ์ที่ทำงานกับข้อมูลคราวละบล็อก (Block Device) อุปกรณ์ที่ทำงานกับข้อมูลคราวละอักขระ (Character Device)

ตัวขับอุปกรณ์ (Device Driver) เมื่อระบบปฏิบัติการต้องการติดต่อกับอุปกรณ์ใด ระบบปฏิบัติการก็จะติดต่อผ่านตัวขับอุปกรณ์นั้น แล้วตัวขับอุปกรณ์จะติดต่อกับอุปกรณ์จริง ๆ อีกทีหนึ่ง

ตัวควบคุมอุปกรณ์ (Device Controller) ตัวควบคุมอุปกรณ์จะอยู่ในรูปแบบของแผงวงจร และติดตั้งในเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วเชื่อมโยงเคเบิ้ลไปยังตัวอุปกรณ์ ซึ่งตัวควบคุมอุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมอุปกรณ์หนึ่ง จะใช้ควบคุมอุปกรณ์ได้เพียงอย่างเดียว

การเข้าถึงหน่วยความจำโดยตรง (Direct Memory Access / DMA) การรับส่งข้อมูลจากอุปกรณ์ I/O เข้าไปยังหน่วยความจำโดยตรง โดยไม่ต้องส่งผ่านซีพียู ซึ่งจะทำให้การรับส่งข้อมูลทำได้เร็วขึ้น และยังจะสามารถใช้ซีพียูในการทำงานโปรเซสอื่น ๆ ได้

การเข้าถึงหน่วยความจำโดยตรง (Direct Memory Access / DMA) เมื่อระบบมีความต้องการรับส่งข้อมูลแบบเข้าถึงหน่วยความจำโดยตรง Channel จะส่งสัญญาณไปบอกซีพียูให้รับรู้ว่ามีเหตุการณ์ที่ต้องการจะรับส่งข้อมูล จากนั้นซีพียูสั่งให้ Channel ทำงานในรูทีนที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมการรับส่งข้อมูล

การติดตาย (Deadlock) คือ ปัญหาที่งาน 2 งานขึ้นไปเริ่มหยุดชะงัก (Hold) ไม่ทำงานต่อ เนื่องจากงานแต่ละงานรอคอย การใช้ทรัพยากรบางอย่าง แต่ทรัพยากรนั้นอยู่ในสถานะไม่ว่าง ในที่สุดการทำงานของทั้งระบบ ก็จะหยุดชะงักลง

ภาพแสดงการติดตาย

ภาพแสดงการติดตายของบันได

ภาพแสดงการติดตายของการจราจร

ภาพแสดงการจราจรที่ไม่เกิดปัญหาการติดตาย

ทรัพยากรการติดตาย ปัญหาการติดตายจะเกิดขึ้นเมื่อโปรเซสไม่ได้รับการอนุญาตให้เข้าถึงทรัพยากร ดังนั้นการจัดการและการใช้งานทรัพยากร จึงเป็นปัจจัยสำคัญในการศึกษาสาเหตุและวิธีการป้องกันปัญหาการติดตาย โดยทรัพยากรนี้อาจจะเป็นฮาร์ดแวร์หรือซอฟต์แวร์ก็ได้ ปกติแล้วคอมพิวเตอร์จะมีทรัพยากรในระบบมากมายหลายรูปแบบ ระบบสามารถใช้งานได้โดยโปรเซสเพียงโปรเซสเดียว ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง

ทรัพยากรสามารถแบ่งออกได้ 2 กลุ่ม ประเภทของทรัพยากร ทรัพยากรสามารถแบ่งออกได้ 2 กลุ่ม ทรัพยากรที่สามารถปลดปล่อยได้โดยไม่ทำ ความเสียหายต่องานที่กำลังทำอยู่ (Preemptable resource) ทรัพยากรที่ไม่สามารถปลดปล่อยได้จนกว่า การทำงาน จะเสร็จสิ้น (Nonpreemptable resource)

การติดตายจะเกิดกับทรัพยากร ที่ไม่สามารถปลดปล่อยได้เท่านั้น การร้องขอเพื่อใช้ทรัพยากร การใช้งานทรัพยากร การปลดปล่อยทรัพยากร

สาเหตุของการติดตาย การบังคับไม่ให้โปรเซสเข้าใช้ทรัพยากร เกิดจากสาเหตุ 4 ประการ การบังคับไม่ให้โปรเซสเข้าใช้ทรัพยากร การครองทรัพยากรค้างไว้ในขณะที่ร้องขอใช้ ทรัพยากรอีกอย่างหนึ่ง การที่ไม่สามารถปลดปล่อยทรัพยากรที่ครองอยู่ได้ การคอยทรัพยากรซึ่งกันและกันในลักษณะงูกินหาง

จบบทที่ 6