การจัดการเรียนรู้ Learning

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
Advertisements

การสร้างห้องเรียนคุณภาพ
การจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับธรรมชาติ ของเด็กแต่ละวัย
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
จุดมุ่งหมายหลักสูตร และการนำหลักสูตรไปใช้
การศึกษารายกรณี.
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
ทักษะและเทคนิคการสอน Teaching Skills and Techniques
การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นพื้นฐาน
หลักการพัฒนา หลักสูตร
ทักษะและเทคนิคการสอน Teaching Skills and Techniques
องค์ประกอบ e-Learning และ WBI
การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การปรับเปลี่ยนวิธีคิดทำงานใหม่
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
สัปดาห์ที่ 5 เรื่อง การจูงใจ.
สัปดาห์ที่ 6 เรื่อง วิธีการดำเนินงานสุขศึกษา ในสถานที่ต่างๆ
วิธีการทางสุขศึกษา.
กระบวนการฝึกวิธีคิด แบบโยนิโสมนสิการ
Objective Analysis การวิเคราะห์วัตถุประสงค์
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
การจัดการเรียนรู้โดยใช้ “เกม” (Game)
สื่อการเรียนการสอน.
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
การจูงใจ (Motivation)
จุดมุ่งหมายการศึกษา และพฤติกรรมการศึกษา
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
การสอนแบบบรรยาย-อภิปราย
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ GHUM 1103
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
ผลลัพธ์การเรียนรู้:ผลการจัดการความรู้
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
หลักสูตรพัฒนาความสามารถในการสร้างเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
ทักษะการคิดวิเคราะห์
สรุป แนวคิด “ การเรียนรู้ ” (Learning) (Additional A1) Key word ที่สำคัญที่สุดของ เรื่อง “ คุณภาพ การศึกษา ” สรุปโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
ทักษะและเทคนิคการสอน Teaching Skills and Techniques
ทักษะและเทคนิคการสอน Teaching Skills and Techniques
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
สรุประบบเทคโนโลยี สมาชิกกลุ่ม 1.น.ส.มยุรี ริยะอุด เลขที่ 1 ม.4.10
ผลแห่งความสำเร็จ 3 ห หลักเกณฑ์ หลักการ หลักฐาน.
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
การวัดและประเมินผล การเรียนรู้
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
ADDIE Model.
บทที่ 12 กระบวนการเรียนรู้ การเรียนรู้ หมายถึง กระบวนการที่ บุคคลจัดองค์การความรู้อันทำให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงอย่างถาวรในพฤติกรรมของเขา และจะสามารถนำใช้อีก.
ทฤษฎีการเรียนรู้เน้นการรับรู้และเชื่อมโยงความคิด
วิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
ผู้วิจัย นาง นิภารัตน์ ทองโคตร กลุ่มวิชาพื้นฐาน
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
The ASSURE Model การใช้สื่อการสอนอย่างเป็นระบบ โดยใช้แบบจำลอง
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
Theories of Innovation and Information Technology for Learning
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
อบรมปฏิบัติการ จัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการเรียนรู้ Learning สุธาสินี ศรีวิชัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย

ทฤษฎีการจัดการเรียนรู้ Theories of Learning 1. ธอร์นไดด์ Thorndike 2. พาฟลอฟ Pavlov 3. สกินเนอร์ Skinner

ทฤษฎีการจัดการเรียนรู้ Theories of Learning 1. ธอร์นไดด์ Thorndike = การเรียนรู้เป็นการเกิดความสัมพันธ์เชื่อมโยง (Connection) ระหว่างสิ่งเร้า (Stimulus) กับปฏิกิริยาตอบสนอง (Response) เรียกว่า การลองผิดลองถูก Trial and Error = ทำการทอลอง สร้างกรงกล (Puzzle Box) ใช้กับแมว อายุ 8 เดือน

การลองผิดลองถูก Trial and Error ผลการทดลองพบว่า นอกกรง ในกรง R1 แมววิ่งในกรง R2 ส่งเสียงดัง R3 ผลักประตู R4 ปีนป่าย R5 เหยียบแผ่นไม่ประตูเปิด ปลา Stimulus แผนภูมิแสดงความสัมพันธ์สิ่งเร้ากับพฤติกรรมการตอบสนอง

การลองผิดลองถูก Trial and Error จากการทดลอง ธอร์นไดด์ ได้กำหนดทฤษฎีการเรียนรู้ได้ 3 ประการ 1. กฏแห่งความพร้อม (Law of Readiness) 2. กฎแห่งผล (Law of Effect) 3. กฎแห่งการฝึกหัด (Law of Exercise)

การลองผิดลองถูก Trial and Error ธอร์นไดด์ ยังได้กฎย่อย อีก 5 กฎ ดังนี้ 1. กฎแห่งการตอบสนองหลายทาง (Law of Multiple Responses) 2. กฎการตั้งจุดหมาย (Law of set of Attitude) 3. กฎการเลือกตอบสนอง (Law of Partial Activitiy) 4. กฎแห่งการเปรียบเทียบ (Law of Response by Analogy) 5. กฎแห่งการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม (Law of Associative Shifting)

ทฤษฎีการจัดการเรียนรู้ Theories of Learning 2. พาฟลอฟ Pavlov = ได้ศึกษาการเรียนรู้โดยกำหนดเงื่อนไข (Conditioning) คือ การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้ากับตอบสนองที่ต้องวางเงื่อนไข เรียกว่า ทฤษฎีเงื่อนไขแบบคลาสสิค = ทำการทดลองกับสุนัข

แผนภูมิแสดงการทดลองทฤษฎีเงื่อนไขแบบคลาสสิค ก่อนวางเงื่อนไข เสียงกระดิ่ง ไม่มีน้ำลาย เนื้อ น้ำลายไหล วางเงื่อนไข เนื้อ กระดิ่ง หลังวางเงื่อนไข เสียงกระดิ่ง น้ำลายไหล น้ำลายไหล

จากผลการทดลองของ พาฟลอฟ ทำให้ทราบว่า การเรียนรู้ส่วนหนึ่งสามารถเกิดขึ้นได้ถ้าหากมีการกำหนดเงื่อนไข ในการเรียนอย่างใดอย่างหนึ่ง พอสรุปเป็นหลักทฤษฎีได้ 4 ประการ 1. การเสริมแรง (Reinforcement) 2. การดับหรือลดพฤติกรรม (Extinction) 3. การสรุปครอบคลุม (Generatization) 4. การจำแนกความแตกต่าง (Discrimination)

ทฤษฎีการจัดการเรียนรู้ Theories of Learning 3. สกินเนอร์ Skinner = เป็นเจ้าของทฤษฎี เสริมแรง (Reinforcement) การให้แรงเสริมจากการตอบสนองนั้น สามารถกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมนั้นได้อีก ส่วนพฤติกรรมที่ไม่ได้รับการเสริมแรงจะค่อยๆหายไปในที่สุด = ทำการทดลองกับหนู และนกพิราบ

การกำหนดเวลาของการให้แรงเสริม เพื่อให้เกิดพฤติกรมต่อเนื่อง ดังนี้ ประการที่หนึ่ง ประการที่สอง

สรุป การเรียนรู้จะเกิดได้ต้องมีขั้นตอน มีกระบวนการ เพื่อให้เกิดการแก้ปัญหา เกิดการอยากรู้อยากเห็น ซึ่งทั้งหมดถือเป็นเรื่องของ กระบวนการเรียนรู้

การเรียนรู้ Learning ประดิษฐ์ เอกทัศน์ ประดิษฐ์ เอกทัศน์ = เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจากเดิมไปสู่พฤติกรรมใหม่หรือ ความสามารถใหม่ที่ค่อนข้างถาวร วารินทร์ สายโอบเอื้อ และสุนีย์ ธีระดากร = การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ค่อนข้างคงทนถาวร พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงนี้เป็นผลเนื่องมาจากการฝึกฝนหรือได้รับประสบการณ์

การเรียนรู้ Learning John Dewey = ผลบวกอันเป็นรายเฉลี่ยของสิ่งที่รู้อันเหลืออยู่หลังจากการลืม Carter V. Good = การเปลี่ยนแปลงปฏิกิริยา หรือพฤติกรรมอันเป็นผลเนื่องมาจาก บุคคลได้มีประสบการณ์

จากความหมายและแนวคิดของนักการศึกษาต่างๆ พอสรุปได้ดังนี้ การเรียนรู้ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอันเป็นผลมาจากประสบการณ์ที่ค่อนข้างถาวร และเป็นไปในทางที่สังคมต้องการ จากความหมายของการเรียนรู้ดังกล่าว แสดงให้เห็นว่า การเรียนรู้จะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนได้มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม

แผนผัง

ธรรมชาติการเรียนรู้ = เป็นกระบวนการที่ก่อให้เกิดการเรียนรู้ขึ้นในตัวผู้เรียน ครอนบัด (Cronbach) ได้อธิบายธรรมชาติการเรียนรู้ไว้ดังนี้ 1. จุดมุ่งหมายของผู้เรียน (Goal) 2. ความพร้อม (Readiness) 3. สถานการณ์ (Situation) 4. การแปลความหมาย (Interpretation) 5. ลงมือกระทำ (Action) 6. ผลที่ตามมา (Consequence) 7. ปฏิกิริยาต่อความผิดหวัง (Contradic)

องค์ประกอบที่ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ 1. วุฒิภาวะ (Maturity) 2. ความพร้อม (Readiness) 3. การฝึกฝน (Practice) 4. การเสริมแรง (Reinforcement) 5. การถ่ายโยงความรู้ (Transfer of Learning)

ประเภทและลำดับขั้นการเรียนรู้ 1. การเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) 2. การเรียนรู้ด้านจิตพิสัย (Affective Domain) 3. การเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย (Psycho motor Domain)

การเรียนรู้ด้าน พุทธิพิสัย การประเมินค่า การสังเคราะห์ การเรียนรู้ด้าน พุทธิพิสัย การวิเคราะห์ การนำความรู้ไปใช้ ความเข้าใจ ความรู้ความจำ

การเรียนรู้ด้าน จิตพิสัย การสร้างลักษณะนิสัย การเรียนรู้ด้าน จิตพิสัย การจัดระเบียบ การเกิดค่านิยม การตอบสนอง การรับรู้

การปฏิบัติงานที่ซับซ้อน การกระทำได้เอง การเรียนรู้ด้าน ทักษะพิสัย การกระทำตามคำแนะนำ การกระทำตามแบบ การรับรู้

การสอน Teaching สุชาติ ศิริสุขไพบูลย์ สุชาติ ศิริสุขไพบูลย์ = การจัดสิ่งเร้าและสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับพันธุกรรม และสภาพการเรียนของผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ Carter V. Good = การให้การศึกษาอบรมสั่งสอนนักเรียนตามสถานทั่วๆไป = การจัดสถานการณ์หรือจัดกิจกรรม เพื่อช่วยผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้โดยง่าย

กระบวนการเรียนการสอนตามขั้น M, I, A, P นักเรียน กระบวนการเรียนการสอน ครู การเรียนรู้ การสอน ขั้นสนใจปัญหา ขั้นนำสู่บทเรียน M ขั้นศึกษาข้อมูล I ให้เนื้อหาความรู้ ขั้นพยายาม ให้แบบฝึกหัด A ขั้นสำเร็จผล ตรวจผลการฝึกหัด P ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน ย้อนกลับ Feed back ย้อนกลับ Feed back ผ่านขึ้นเนื้อหาใหม่