ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
Advertisements

การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Research Problem ปัญหาการวิจัย
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การศึกษารายกรณี.
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
ครูเสน่ห์ อุ่นสิม จำใจเสนอ.
โครงงาน ระบบงานที่สร้างสรรค์. ภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ การออกแบบระบบงาน และพัฒนา งานจำเป็นต้องศึกษา รายละเอียดของงาน โดย ทำการศึกษางานเดิม เขียนผัง ระบบงานงานเดิม.
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
หลักการพัฒนา หลักสูตร
บทที่ 1 การวิจัยกับการ พัฒนางานของครู
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
มคอ.4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม
การติดตาม และประเมินโครงการ.
บทสรุป หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร และบริบทของสถานศึกษา
การประเมินผลการเรียน
“Backward” Unit Design?
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การวิเคราะห์ผู้เรียน
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
หน่วย การเรียนรู้.
การวิจัยกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
การวัดผล (Measurement)
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
การเขียนแผนแบบUBD.
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
หน่วยที่ 5 การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ตามยุทธศาสตร์การพัฒนายกระดับผลสัมฤทธิ์
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
สวัสดี ครับ เพื่อนพี่น้องผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน.
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
การประเมินแผนการสอน สุธาสินี ศรีวิชัย
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
คำนึง อุยตระกูล กศน.อำเภอบ้านไผ่
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
สายวิชาเคมี ชั้นปีที่ 3
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
โรงแรมนนทบุรีพาเลซ จังหวัดนนทบุรี 8-9 มีนาคม 2557.
ADDIE Model.
การเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ส่วน หนึ่งมาจากนักเรียนมีพื้นฐานความรู้ ที่ แตกต่างกัน มีความสนใจและความสามารถ ในการรับรู้ แตกต่างกัน นักเรียนบางส่วน ขาดความตระหนักไม่เห็นความสำคัญของ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนาความพร้อมในวิชาชีพ
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
Backward Design โดย อาจารย์ประจำวิชาฟิสิกส์ชั้นปีที่ ๓
การสร้างสื่อ e-Learning
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
อบรมปฏิบัติการ จัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544

มุ่งเน้นการประเมินเพื่อการพัฒนาผู้เรียน ควรใช้เครื่องมือและวิธีที่หลากหลายเพื่อวัด พัฒนาการด้านความรู้ ความสามารถ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ให้ผู้เรียนได้แสดงความสามรถที่ได้จากการเรียนรู้โดยการกระทำหรือปฏิบัติจริงอย่างครบกระบวนการ

กิจกรรมการประเมินเป็นประสบการณ์ ที่มีคุณค่าทางการศึกษา เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนการสอนที่ดำเนินควบคู่กันอย่างต่อเนื่อง มีการจัดเก็บข้อมูลการประเมินอย่างเป็นระบบ เพื่อใช้ในการวางแผนพัฒนาผู้เรียน

ในการจัดการเรียนการสอนแต่ละหน่วย แต่ละกิจกรรม ผู้สอนจะต้องกำหนดเป้าหมาย หรือผลการเรียนรู้ที่คาดหวังไว้ทุกครั้งว่าต้องการ ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อะไร ทำอะไรได้ และมีคุณธรรม จริยธรรมอะไรบ้าง และดำเนินการวัดผลประเมินผล ควบคู่กันไปในขณะการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

การประเมินได้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ ดังนี้ 1. ผลงาน โครงการ แบบฝึกหัด 2. การทดสอบในลักษณะต่าง ๆ 3. การสังเกต 4. การสัมภาษณ์ 5. การบันทึกของผู้เรียน ผู้สอน และผู้ปกครอง 6. แบบสอบถาม แบบสำรวจ 7. แฟ้มผลงาน (Portfolio)

มาตรฐานการออกแบบภาระงาน มีดังนี้ 1. จะต้องเป็นภาระงานที่ผู้เรียนได้ใช้ องค์ความรู้ที่ลึกซึ้ง 2. ผู้เรียนได้ใช้ทักษะหรือกระบวนการคิดขั้นสูง 3. ภาระงานจะต้องมีความสัมพันธ์สอดคล้องกับสังคมอาชีพภายนอก

มาตรฐานการออกแบบภาระงาน (ต่อ) 4. เป็นภาระงานที่ส่งเสริมปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้เรียน ดังนั้นภาระงานจึงควรเป็นงานกลุ่ม 5. ให้การสนับสนุนทางจิตวิทยาหรือสังคมเพื่อความสำเร็จของผู้เรียน 6. จะต้องสะท้อนได้ว่านักเรียนรู้อะไร ทำอะไรและสอดคล้องกับมาตรฐานช่วงชั้นที่กำหนดอะไรบ้าง

การกำหนดเกณฑ์การประเมินมีวิธีการ 2 แบบ คือ 1.การกำหนดเกณฑ์โดยภาพรวม (Holistic Score) 2. กำหนดเกณฑ์โดยจำแนกสิ่งที่จะประเมินออกเป็นประเด็นๆ หรือเป็นด้านๆ ซึ่งเรียกว่า Analytic Score

การกำหนดเกณฑ์การประเมินมีวิธีการ 2 แบบ คือ 1. ประเด็นที่จะประเมิน (Criteria) 2. ระดับความสามารถ (Performance Levels) 3. คำบรรยายคุณภาพของแต่ละระดับความสามารถ (Quality Descriptors)

ในการออกแบบสร้างเกณฑ์การประเมิน ผู้ออกแบบจะต้องคำนึงถึง คือ ในการออกแบบสร้างเกณฑ์การประเมิน ผู้ออกแบบจะต้องคำนึงถึง คือ 1. อะไรที่ท่านต้องการจะวัด / ประเมิน 2. มาตรฐานอะไรที่ท่านคาดหวังให้นักเรียนบรรลุผล 3. ท่านจะใช้เกณฑ์อะไรเพื่อประเมินงาน หรือการปฏิบัติของนักเรียนเป็นเกณฑ์ การประเมินในภาพรวม

การสร้างและพัฒนาเกณฑ์การประเมิน จึงควรพิจารณา ดังนี้ 1. หน่วยการเรียนหรือภาระงานที่กำหนดขึ้นนั้นตรงกับมาตรฐานการเรียนรู้ข้อใด 2. ประเด็นที่นำมาประเมินภาระงานนั้นสามารถบอกได้ว่าเป็นคุณภาพของผู้เรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้ข้อใดบ้าง

การสร้างและพัฒนาเกณฑ์การประเมิน (ต่อ) 3. จัดทำกรอบการประเมินที่ครอบคลุมประเด็นที่จะนำมาประเมิน 4. อธิบายการแสดงออกถึงระดับความสามารถตามประเด็นที่กำหนด เป็นระดับ ๆ 5. ทดลองหาความชัดเจนของเกณฑ์โดยให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณาและให้ผู้เรียนได้ศึกษาทำความเข้าใจ

การสร้างและพัฒนาเกณฑ์การประเมิน (ต่อ) 6. หลังจากนำเกณฑ์ไปใช้ประเมินผู้เรียนแล้วให้หาข้อดี ข้อควรปรับปรุงแก้ไขด้านต่างๆ เช่น ความชัดเจน ความสะดวกในการนำไปใช้ 7. ทบทวนและปรับปรุงเกณฑ์ที่ยังมีข้อบกพร่องหรือพัฒนาเกณฑ์อื่นๆ ให้ดียิ่งๆ ขึ้น

การประเมินผลควรประเมินทุกครั้งที่ทำการสอน ซึ่งสามารถประเมินได้ 3 ขั้นตอน คือ 1. การประเมินผลก่อนทำการสอน 2. การประเมินผลระหว่างทำการสอน 3. การประเมินผลหลังการสอน 3.1 การประเมินผลหลังจากจบการสอนไป 1 ชั่วโมง 3.2 การประเมินผลเมื่อเรียนครบตามหลักสูตร

การวัดและ ประเมินผล