1. นางสาวฉันทนา คงแก้ว เลขที่ 9

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Knowledge Management (KM)
Advertisements

การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
การจัดการความรู้สู่การเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
อธิบายแนวคิดการจัดทำโครงงานในประเด็นต่อไปนี้
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
การจัดการความรู้ (KNOWLEDGE MANAGEMENT: KM)
มหาวิทยาลัยแห่งการเรียนรู้
ความสำคัญและการนำสู่การปฏิบัติ
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
“แนวปฏิบัติจัดการความรู้” (The Practices of Knowledge Management)
KM การจัดการความรู้ พยาบาล ดร. ยุวดี เกตสัมพันธ์
7 ขั้นตอนในการจัดการความรู้ ของ กพร.
การคิดและวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ
บทเรียนบาง ประการ จาก ประสบการณ์ การส่งเสริมการ เรียนรู้ และจัดการ ความรู้
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
การพัฒนาทักษะการจดบันทึก เพื่อต่อยอดความรู้สู่การปฏิบัติ
“Knowledge Management in Health Care”
Knowledge Management (KM)
LEARNING ORGANIZATION
Learning Organization
LEARNING ORGANIZATION
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
การบรรยาย หัวข้อ “KM : เครื่องมือพัฒนาทีมงาน และองค์การ”
การจัดการความรู้เพื่อยกระดับมาตรฐานในการปฏิบัติงาน
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
การศึกษาการจัดการความรู้ของบริษัท ดั๊บเบิ้ล เอ จำกัด (มหาชน)
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
องค์กรแห่งการเรียนรู้
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
(Knowledge Management : KM)
ถอดรหัส Nanoka : ภาวะผู้นำและการประเมินแนวใหม่
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Communities of Practice (CoP)
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยรังสิต
เครื่องมือช่วยในการจับประเด็น รวบรวมความคิดให้เป็นหมวดหมู่
สรธ.สัญจร ครั้งที่ ๑ (ภาคเหนือ พื้นที่ สชป.๒) สรธ.สัญจร ครั้งที่ ๑ (ภาคเหนือ พื้นที่ สชป.๒) วันจันทร์ที่ ๒ ธันวาคม ๒๕๕๖ เวลา ๐๙.๐๐ น. ณ โรงแรมเอเชีย ลำปาง.
การก้าวสู่องค์กรแห่ง การเรียนรู้. * กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมันรวดเร็วและรุนแรง ก็ด้วยปัจจัยที่ เกิดจากการก้าวกระโดดของเทคโนโลยีสาร สนเทศ ส่งผลให้เวทีการ.
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
วิทยาศาสตร์ในสังคมกับการจัดการความรู้
Participation : Road to Success
รวบรวม /ปรับปรุง/เสริมแต่ง
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
ขอต้อนรับทุก ท่าน WELCOME ! No 1. การบรรยายความรู้ มุมมองใหม่ กับการทำงานส่งเสริมเคหกิจ เกษตร วันพุธที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ระหว่างเวลา ๑๕. ๐๐ – ๑๖. ๐๐ น.
กระบวนการจัดการความรู้ สชป.๑๗
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
การเรียนรู้ของทีม Team Learning
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
โมเดลปลาทู “คุณเอื้อ” “คุณกิจ” “คุณอำนวย” CKO Knowledge Sharing (KS)
ระบบวิจัยสุขภาพ ใน 2 ทศวรรษหน้า
เทคนิคการจัดการความรู้ ทางอิเล็กทรอนิกส์
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
สวัสดีค่ะ อาจารย์ จิติณัฐ และเพื่อนๆทุกคน.
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
การจัดการความรู้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง
สรุปบทความเรื่อง แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วย Competency
ระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ในองค์กร
ความหมายของ KM การจัดการความรู้ หมายถึง กระบวนการอย่าง มีระบบเกี่ยวกับการประมวลข้อมูล สารสนเทศ ความคิด การกระทำ ตลอดจนประสบการณ์ของ บุคคลเพื่อสร้างเป็นความรู้หรือนวัตกรรม.
แนวทางการจัดการความรู้ (Knowledge Management) ปีงบประมาณ 2558
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

1. นางสาวฉันทนา คงแก้ว เลขที่ 9 2. นางสาวรัชณา คงแก้ว เลขที่ 32 3. นางสาวเบญจมาศ สุขกลับ เลขที่ 52 4. นางสิริพร บัวจันทร์ เลขที่ 68 5. นางทัสนี งามประดิษฐ์ เลขที่ 72 6. นางสาวสุฑา แดงขาว เลขที่ 82 7. นางนัทธ์ภัทร์ พิถยพิโลน เลขที่ 83 8. นางจิราพร เรือนสูง เลขที่ 97 9. นางสุภัตรา จิตโสภา เลขที่ 98 10. นางเชาวนิตย์ ใจสว่าง เลขที่ 111 11. นางจิตติมา วชิระพงษ์ เลขที่ 149 กลุ่มที่ 6

Knowledge Management (KM) การจัดการความรู้ Knowledge Management (KM) เพื่อพัฒนาทรัพยากรบุคคล สู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ Learning Organization (LO )

ความรู้ (Knowledge)คืออะไร? ความรู้ คือ บทสรุปของความเข้าใจ เนื้อหาเป็นความจริง ผ่านการพิสูจน์และทดลอง สามารถตั้งเป็นกฎ นำไปปฏิบัติงานได้จริง หรือ สามารถนำไปประกอบการตัดสินใจ รวมทั้งสามารถทำนายผลได้

การจัดการความรู้(KM) คืออะไร? การจัดการความรู้ คือ การดึงเอาความรู้ที่กระจัดกระจาย ฝังอยู่ทั่วไปภายในองค์กร ออกมารวบรวม และแบ่งกลุ่ม จัดเก็บให้เป็นองค์ความรู้ขององค์กร เพื่อเป้าหมายในการพัฒนาสู่ องค์กรแห่งการเรียนรู้ต่อไป

การจัดการความรู้(km)...คือ การรวบรวม การจัดระบบ การจัดเก็บ และการเข้าถึงข้อมูลเพื่อสร้างเป็นความรู้ มีการแบ่งปัน และสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้แก่องค์กร

การจัดการความรู้.ในองค์กร ต้องดำเนินการในลักษณะที่บูรณาการอยู่ในกิจกรรมหรืองานประจำ ต้องไม่ทำให้สมาชิกขององค์กรรู้สึกว่ามีภาระเพิ่มขึ้น

  ขั้นตอนการจัดการความรู้

รูปแบบความรู้ Knowledge 1. ความรู้เด่นชัด(Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่อยู่ในรูปแบบที่เป็นเอกสารสามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้ หรืออยู่ในตำราคู่มือการปฏิบัติงาน หรือสื่ออื่น ๆที่สามารถศึกษา จับต้องได้ เรียกว่าเป็นความรู้แบบรูปธรรม 2. ความรู้ซ่อนเร้น (Tacit Knowledge)ความรู้ที่ฝังอยู่ในตัวคน เป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ พรสวรรค์หรือสัญชาติญาณของแต่ละบุคคลในการทำความเข้าใจในสิ่งต่าง ๆ เรียกว่าเป็นความรู้แบบนามธรรม

แหล่งความรู้ ภายในหน่วยงาน ภายนอกหน่วยงาน  จากภาระงาน  ประสบการณ์  การปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ ภายนอกหน่วยงาน  สื่ออิเล็กทรอนิกส์  เอกสาร หนังสือ  ผู้ทรงภูมิรู้และแหล่ง เรียนรู้

กระบวนการจัดการ (Process) การพัฒนาฐานความรู้องค์กร วัตถุประสงค์การจัดการความรู้ การพัฒนางาน (JOB Development) ความรู้ (Knowledge) การจัดการความรู้ (KM) การพัฒนาคน (Human Development) กระบวนการจัดการ (Process) การพัฒนาฐานความรู้องค์กร (Knowledge Base)

ทำไมต้อง (km) จัดการความรู้ เป็น..เครื่องมือ ผ่อนแรงในการเรียนรู้และ พัฒนางาน เป็น..เครื่องมือ สร้างพลังทวีคูณจากการรวมหมู่พลังที่แตกต่าง อย่างหลากหลาย เป็น..เครื่องมือ สร้างความสัมพันธ์ในกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน

ที่ใช้ความรู้ของทั้งในและนอกหน่วยงาน เป็น.. เครื่องมือ ที่ใช้ความรู้ของทั้งในและนอกหน่วยงาน เป็น.. เครื่องมือ ดึงศักยภาพของคน & ทีมออกมาใช้ เป็น.. เครื่องมือ ที่สร้างความเป็นไปได้ เป็น.. เครื่องมือ ที่จะนำความรู้สู่การปฏิบัติที่ดีขึ้น จากประสบการณ์จริง

เป้าหมายของการจัดการความรู้ (1) เพื่อพัฒนางานคือการพัฒนาคุณภาพองค์กรให้บรรลุ ตามเป้าหมายและวิสัยทัศน์ให้เกิดสัมฤทธิ์ผลยิ่งขึ้น (2) เพื่อการพัฒนาคนคือพัฒนาทักษะของผู้ปฏิบัติงาน (3) การพัฒนานวัตกรรมใหม่คือสินค้าและผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ

“เพื่อการพัฒนาบุคคลในองค์กรให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้” (4) เพื่อการพัฒนา “ฐานความรู้” ขององค์กรหรือการเพิ่มพูน ทุนความรู้หรือทุนปัญญาขององค์กร ซึ่งจะช่วยทำให้ องค์ กรมีศักยภาพในการฟันฝ่าความยากลำบากหรือ ความไม่แน่นอนในอนาคตได้ดีขึ้น “เพื่อการพัฒนาบุคคลในองค์กรให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้”

“เพื่อความเจริญก้าวหน้าขององค์กร” KM เป็น “เครื่องมือ” บริหาร ชนิดหนึ่ง ต้องเลือกใช้ ให้เหมาะกับสถานการณ์ “เพื่อความเจริญก้าวหน้าขององค์กร”

ต้องรู้จัก “ปรับเครื่องมือ” ให้เข้ากับบริบท

สรุป KM คือกระบวนการรวบรวม จัดเก็บ แบ่งปัน และใช้ประโยชน์จากความรู้และประสบการณ์ของทรัพยากรบุคคล และกระบวนการต่างๆ ในการปฏิบัติงานขององค์กร ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน รวมถึงการส่งเสริมให้ ทรัพยากรบุคคลได้คิดค้นสิ่งใหม่ๆ หรือนวัตกรรมให้เกิดขึ้นเพื่อประโยชน์ต่อองค์กรในอนาคต

”โมเดลปลาทู” สคส. ได้อุปมาว่า KM เป็นปลาทูตัวหนึ่ง

Knowledge Vision (KV)หัวปลา เป้าหมายของการจัดการความรู้ ...ทำKM ไปทำไม? .....ทำไปเพื่ออะไร?

ได้ตรงตามเป้าหมาย (ตัวปลา) Knowledge Sharing (KS) ตัวปลา กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้วยหลากหลายวิธี ที่ทุกคนมีส่วนร่วม ได้ตรงตามเป้าหมาย (ตัวปลา)

Knowledge Asset(KA) หางปลา คลังความรู้ ความรู้ที่เป็น Explicit Knowledge และTacit Knowledge

การเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization :LO ) ปีเตอร์ เซ็งกี้ (Peter Senge )

Peter Senge กล่าวว่า องค์กรเรียนรู้คือ องค์กรที่ขยายขีดความสามารถและเพิ่มศักยภาพ เพื่อสร้างผลงานและสร้างอนาคตอย่างต่อเนื่อง โดยผู้คนในองค์กรต่างก็เรียนรู้ถึงวิธีที่จะเรียนรู้ด้วยกันอย่างต่อเนื่อง

พื้นฐานสู่ LO 1.มีวิสัยทัศน์ร่วม(Shared Vision)  การที่จะเริ่มให้องค์กรสามารถเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ที่ทุกคนมีส่วนร่วมกันได้ Peter Senge กล่าวไว้ว่าต้องอาศัย หลักวินัย 5 ประการ (Five Disciplines) ได้แก่  1.มีวิสัยทัศน์ร่วม(Shared Vision)

3. มีผู้ที่มีใจใฝ่เรียนรู้ (Personal Mastery)  2. การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม  (Team Learning) 3. มีผู้ที่มีใจใฝ่เรียนรู้  (Personal Mastery)

4. มีผู้ที่รู้จักพัฒนากรอบความคิด   (Mental Models)   5. มีผู้ที่คิดได้อย่างครอบคลุมเชื่อมโยงเป็นระบบ (Systems Thinking)

โมเดล 3 ระดับ (ดร.ประพนธ์ ผาสุขยืด) ระดับองค์กร ระดับกลุ่ม โมเดล 3 ระดับ (ดร.ประพนธ์ ผาสุขยืด) ระดับปัจเจก (บุคคล) ระดับองค์กร ระดับกลุ่ม Learning Organization Shared Vision Team Learning Learning Person = + + + TL + LP LO = SV

เทคนิคที่สนับสนุนองค์กรแห่งการเรียนรู้ วิธีการที่ควรนำมาใช้ในองค์การเพื่อให้บุคคลในองค์การมีการเรียนรู้ อยู่ตลอดเวลา และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ได้แก่ การเรียนรู้โดยการปฏิบัติ ACTION LEARNING มาตรฐานอ้างอิง BENCHMARKING การสอนงาน COACHING การเป็นพี่เลี้ยง MENTORING แฟ้มงานเพื่อการพัฒนา PORTFOLIO

ขอขอบคุณ และ สวัสดีค่ะ