ลักษณะของพุทธศาสนานิกายเถรวาท

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แรงผลักดัน ความท้าทายและเส้นทางสู่ความสำเร็จ
Advertisements

ศาสนพิธี และวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
พระไตรปิฎก.
โฆษณาปฏิบัติธรรมทั่วประเทศ โดย เสถียรธรรมสถาน
หลักธรรมสำคัญจากวันมาฆบูชา
บทที่๑ กำเนิดพระพุทธศาสนา
ความเชื่อในพระพุทธศาสนา ในทองถิ่นที่ดีต่อสุขภาพกาย
ความเชื่อในพระพุทธศาสนาในท้องถิ่นที่มีต่อสุขภาพกาย
พระพุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์และสยามวงศ์สมัยอยุธยา
พระพุทธศาสนา (Buddhism) Lord Buddha.
พระพุทธเจ้าและกำเนิดพระพุทธศาสนา
สอนโดย อาจารย์ขวัญตา จั่นอิ๊ด โทร
กระบวนการฝึกวิธีคิด แบบโยนิโสมนสิการ
ประวัติพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาเกิดที่ประเทศอินเดีย ก่อนพุทธศักราช ๔๕ ปี เกิดหลังศาสนาพราหมณ์ ๖๐๐ ปี ก่อนศาสนาคริสต์ ๕๔๓ ปี ก่อนศาสนาอิสลาม ๑,๑๒๔.
พุทธประวัติ.
ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม
พระพุทธศาสนา ฝึกคนไม่ให้ประมาท.
History มหาจุฬาฯ.
จัดทำโดย ด.ญ.ดวงเดือน รักนุ้ย ชั้น ป.4/2 เลขที่31
ภูมิปัญญาทางภาษา มีภูมิปัญญาไทยแฝงตัวอยู่มากมาย ทั้งการดำเนินชีวิต
เจาคันธีสถูป อนุสรณ์แสดงว่า พระพุทธองค์ได้เสด็จจากพุทธคยา
๒.๒.๒ ลักษณะและคำสอนสำคัญ ๑) ลักษณะสำคัญของพระพุทธศาสนา ปัญญา
วิธีการแสวงหาโมกขธรรม ของพระพุทธเจ้า
Howard Gardner “Five minds for the Future”
มาตรฐานชีวิตชาวพุทธ วางรากฐานชีวิต ทำชีวิตให้ถึงจุดหมาย.
นักเรียนช่วงชั้นที่ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๒
ศูนย์สื่อการสอนพระพุทธศาสนา สำนักสงฆ์สวนวาง
รู้และเข้าใจเรื่องของชีวิต
ความคาดหวังของการส่งเสริมวินัยและจริยธรรมข้าราชการ กรมอนามัย
ทบทวน หน่วยที่ 1 ความสำคัญของพระพุทธศาสนา 1
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
Download ใน หรือ
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
ธรรมวิภาค.
วันอาสาฬหบูชา.
กิจกรรมวันอาสาฬหบูชา และวันเข้าพรรษา
การบริหารจิต.
ความสำคัญของการคิด และการประเมินการคิด
ครูธีระพล เข่งวา นักประวัติศาสตร์ หมายถึง ข้อใด ก. ผู้ที่สามารถเรียน ประวัติศาสตร์ได้ดี ข. อาจารย์ผู้สอน ประวัติศาสตร์ได้ดี ค. ผู้ที่มีประสบการณ์ทาง.
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
เนื้อหาพิเศษ : การตั้งเป้าหมาย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก
ความรู้เกี่ยวกับวรรณกรรม
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
มรรค : ธรรมที่ควรเจริญ
ศาสนาพุทธ เรื่อง ฆราวาสธรรม ๔ จัดทำโดย
บทที่ 2 พุทธธรรมกับสังคม.
โรงเรียน เทศบาล 2 (บ้านหาดใหญ่) วัฒนธรรมไทยในปัจจุบัน
เรื่องน่ารู้จากพระไตรปิฎก
ศาสนาคริสต์.
                                                                                       
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
“การเสริมสร้างชีวิตให้เป็นสุข”
จุดมุ่งหมายของพระพุทธศาสนา
วรรณคดีสมัย กรุงรัตนโกสินทร์.
2. พระพุทธ ศาสนาเถรวาทสายพุกาม เข้ามา ในช่วง พ. ศ. ๑๖๐๐ สายนี้เข้ามาสู่ไทยด้วย อิทธิพลของพระเจ้าอนุรุธมหาราช ผู้ได้ อำนาจในพม่าและตั้งเมืองหลวงขึ้นที่เมือง.
อริยสัจ 4.
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
แนวความคิด/หลักคำสอนที่สำคัญ
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
เรื่อง สมานฉันท์ จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา
จัดทำโดย ชื่อนายฤทธิ์รงค์ ลิ้มม่วงนิล ช่างยนต์ ปวช.1 เลขที่19
อุดมการณ์ และจิตวิญญาณ ของความเป็นครู.
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
พระไตรปิฎก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ เรื่อง
เล่าจื๊อผู้ให้กำเนิดลัทธิเต๋า
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ลักษณะของพุทธศาสนานิกายเถรวาท

เถรวาทไม่เน้นคำสอนในเรื่องหลักปฏิบัติเพื่อช่วยมหาชนให้มากที่สุด โดยไม่คำนึงถึงตนเอง นิกายเถรวาทต้องการการหลุดพ้นจากวัฏฏทุกข์อย่างรีบด่วน นิกายเถรวาทปฏิเสธเรื่องราวของพระพุทธองค์หลังปรินิพพานว่ามีอยู่หรือไม่มีอยู่

นิกายเถรวาทไม่ยอมรับในเรื่องสัตว์ทั้งหลายมีจิตเป็นสากล หรือพุทธภาวะที่แจ่มจรัสปราศจากกิเลส เถรวาท ยึดมั่นอยู่ในธรรมวินัยอันเป็นคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าตามแบบเดิมตั้งแต่ครั้งปฐมสังคายนา ไม่ยอมเปลี่ยนแปลง ยกพระธรรมวินัยไว้ในฐานะอันสูงส่งและศักดิสิทธิ์ แม้พระไตรปิฎกก็ไม่เปลี่ยนแปลง คงรักษาของเดิมซึ่งเป็นภาษามคธเอาไว้เป็นหลักเป็นธรรมนูญของพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท ใครจะแปลเป็นภาษาอะไรก็แปลไป แต่ไม่ทิ้งของเดิมคงรักษาของเดิมภาษามคธเป็นหลัก

เถรวาทตั้งเป้าหมายและวิธีเพื่อบรรลุเป้าหมายไว้สูงและยาก ต้องอาศัยความตั้งใจจริง ๆ จึงจะกล้าดำเนินการตามเป้าหมายและบรรลุตรงเป้าหมายนั้น ทำให้สามัญชนโดยทั่วไปมองพระพุทธศาสนาในสิ่งสูงสุดยากที่จะเข้าถึง เกี่ยวกับอุดมคติในการดำเนินงาน การเผยแพร่เถรวาทมุ่งที่ตนเองก่อน คือตนเองต้องรู้ก่อนแล้วจึงสอนจึงช่วยผู้อื่น มิฉะนั้นจะนำอะไรไปช่วยเขาเมื่อตนเองยังไม่มีอะไร ยังไม่รู้อะไร

เถรวาท ถือเรื่องอริยสัจเป็นสำคัญ ในพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทมีพระสงฆ์เป็นแกนกลางในการยึดมั่นของประชาชน พระสงฆ์จรรโลงพระพุทธศาสนา เป็นผู้นำ พุทธบริษัทอื่นเป็นผู้ตาม เถรวาท ถือเรื่องอริยสัจเป็นสำคัญ เถรวาท มีพระพุทธเจ้าพระองค์เดียว คือ พระสมณโคดม หรือ พระศากยมุนี เถรวาท มีความมุ่งหมายเพื่อบำเพ็ญอัตตัตถาจริยา คือ ประโยชน์ส่วนตน ญาตัตถจริยาประโยชน์ต่อเพื่อนมนุษย์ โลกัตถจริยา คือ ประโยชน์ต่อสัตว์โลก โดยเห็นว่าการที่เราจะช่วยผู้อื่นได้ เราต้องช่วยตัวเองให้มีหลักก่อน

เถรวาทมี บารมี ที่จะให้สำเร็จบรรลุสัมมาสัมโพธิญาณ เป็นพระพุทธเจ้า 10 ประการมี ทาน, เนกขัมมะ, ปัญญา ,วิริยะ, สัจจะ, อธิษฐาน, เมตตา, อุเบกขา, ขันติ เถรวาท ในกายสาม เถรวาทยอมรับแต่ ธรรมกาย กับ นิรมาณกายบางส่วน นอกนั้นไม่รับ เถรวาท อาศัยพระไตรปิฎก คือธรรมวินัย ยุติตาม ปฐมสังคายนาเป็นหลัก

หลักธรรมของสายเถรวาทมักมีพื้น ฐานจากพระไตรปิฎกเป็นหลัก โดยเฉพาะอภิธรรมปิฎกเพราะรูปแบบของพระธรรมเชิงวิเคราะห์ (วิภัชชวาท) ที่เป็นส่วนสำคัญของพระอภิธรรมในพระไตรปิฎกถึงกับว่านักวิชาการหลายท่านกล่าวว่า แท้ที่จริงแล้ว เถรวาท ก็คือ นิกายวิภัชชวาทนั้นเอง พุทธศาสนาเถรวาทกำหนดลักษณะของนิกายด้วยการสืบต่อสายการอุปสมบท บนพื้นฐานของพระวินัยปิฎกเป็นหลัก พระเถรวาทในปัจจุบันปฏิบัติตามพระปาฏิโมกข์ 227 ข้อที่มีมาในพระวินัยปิฎกบาลี เป็นหลัก

หลักฐานเชิงคัมภีร์ของพระไตรปิฎก มีการต่อยอดด้วยคัมภีร์รุ่นหลังที่เรียกว่า อรรถกถาและฎีกา ซึ่งเป็นงานเขียนส่วนใหญ่ของท่านพระพุทธโฆสาจารย์ พระนักวิชาการชาวอินเดียที่มีชีวิตอยู่ช่วงพุทธศตวรรษที่ 10 การปฏิบัติทางศาสนาของพุทธศาสนาเถรวาทมักจะวนเวียนอยู่กับพระรัตนตรัย คือพระพุทธพระธรรม และพระสงฆ์ การปฏิบัติอย่างเหมาะสมต่อพระรัตนตรัย เป็นจุดสำคัญของการบุญหรือการทาบุญ ซึ่งเป็นหลักสำคัญหลักใหญ่ของการปฏิบัติของเถรวาท