พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คำราชาศัพท์.
Advertisements

พระบรมธาตุ มรดกธรรมนำสู่มรดกโลก
กลุ่มคนในสังคมสุโขทัย
อาณาจักรสุโขทัย.
จากรูปภาพ นักเรียนคิดว่าเป็นการแต่งกายของชนชาติใด??
คำราชาศัพท์ จัดทำโดย นางสาวสมพร อ่อนละออ.
คำราชาศัพท์และคำสุภาพ
ศาสนพิธี และวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
*ความสุขของพระมหากษัตริย์
โครงการทำบุญเข้าวัดด้วยการแต่งชุดผ้าไทย
สถานที่ท่องเที่ยวที่ชอบ
วัดพระแก้ว.
วัดพระศรีรัตนศาสดาราม หรือวัดพระแก้ว
พระบรมมหาราชวัง Grand Palace.
พระพุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์และสยามวงศ์สมัยอยุธยา
นางจันทร์จิรา หัตถกอง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เรื่อง ภูมิปัญญาและบุคคลสำคัญในสมัยอยุธยา
ผลงานของบุคคลสำคัญ ในการสร้างสรรค์ชาติไทย
วรรณคดีเรื่องกาพย์เห่เรือ
ประติมากรรม พระพุทธรูป พระพุทธรูปสมัยสุโขทัย อาจแบ่งออกได้เป็น
พุทธประวัติ.
บุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์ชาติไทย
โรงเรียนบางบ่อวิทยาคม
แนะนำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สถานที่สำคัญ ของกรุงรัตนโกสินทร์
ศาสนา.
สมัยนาระ.
พระเจ้าอยู่หัว 84 พรรษา องค์ราชัน
ด.ญ.กิตติมา สุภโรจนีย์ เลขที่ 33 ป.4/6
โดย เด็กชายชนสิษฏ์ วุฒิรักษ์ชัยนันท์ ป.4/3 เลขที่7
แหล่งท่องเที่ยวในสุพรรณบุรี
คำนำ งานนำเสนอเรื่องใช้ประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ง20210เทคโนโลยีสารสนเทศ 3 โปรแกรม PowerPoint 2007 เพื่อศึกษาในเรื่อง เขาวัง(พระนครคีรี) ผู้จัดหวังว่าคงเป็นประโยชน์สำหรับผู้ที่ศึกษาหากมีข้อผิดพลาประการใดผู้จัดทำขออภัยมา.
The designs inspired by Phra Maha Chedi of King Rama I-IV at Wat Phra Chetuphon Vimolmangklararm Rajwaramahaviharn Mr. Taechit Cheuypoung.
พระพุทธรูปประจำ ๙ รัชกาล
ชาวพุทธตัวอย่าง พระเจ้าอโศกมหาราช ประวัติเบื้องต้น
ศูนย์สื่อการสอนพระพุทธศาสนา สำนักสงฆ์สวนวาง
ประเพณีชักพระ.
โครงการเข้าวังฟังธรรมเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในวโรกาสฉลองสิริราชสมบัติ 60 ปี จัดกิจกรรมร่วมกัน ของศาสนิกชนทั้ง.
ทบทวน หน่วยที่ 1 ความสำคัญของพระพุทธศาสนา 1
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
อำเภอพนัสนิคม โดย นางสาวสิราวรรณ พรงาม.
สถานที่ท่องเที่ยวอยุธยา
สถานที่ท้องเที่ยวจังหวัดฉะเชิงเทรา
ศาสนพิธี สำหรับชาวพุทธ.
พัฒนาการของประถมศึกษาไทยสมัยธนบุรี
วรรณคดีสำคัญสมัยอยุธยาตอนปลาย
รวบรวมข้อมูลมาจาก วิกิพีเดีย
โดย ศาสตราจารย์ ท่านผู้หญิงพูนทรัพย์ นพวงษ์ ณ อยุธยา
“เปิดวัดไทย ใหญ่ที่สุดในโลก ถวายในหลวง”
ชีวประวัติ ท่านสุนทรภู่มหากวีของโลก
ประวัติความ เป็นมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระ นางเจ้าพระบรมราชินี นาถทรงสนพระทัยในการที่พระเทพสิทธิญาณรังสี ( พระอาจารย์จันทร์ คเวสโก ) ได้ไปดำเนินการพัฒนา.
ทัศนะศึกษา วัดอรุณราชวราราม.
วรรณกรรมในสมัยอยุธยามีอยู่มากตั้งแต่สมัยสมเด็จพระเจ้าอู่ทอง จนตลอดระยะเวลาของ กรุงศรีอยุธยาวรรณกรรมที่ดีเด่นจนได้รับการยกย่องเป็นวรรณคดีมีอยู่หลายเรื่อง.
ข. ประเภทตำนาน-พงศาวดารท้องถิ่น
กรุงศรีอยุธยา.
โรงเรียน เทศบาล 2 (บ้านหาดใหญ่) วัฒนธรรมไทยในปัจจุบัน
ราชาศัพท์.
นักประวัติศาสตร์.
จัดทำโดย นายธีรภัทร บัวเนียม เสนอต่อ อาจาร์ยสมคิด มีมะจำ
พระพุทธศาสนาสมัยสุโขทัย
เด็กหญิงภารินทร์ บลทอง เลขที่ 24 ม.2/1 เสนอ อาจารย์จริญญา ม่วงจีน อาจารย์ภาวนา พลอิทร์ เด็กหญิงภารินทร์ บลทอง เลขที่ 24 ม.2/1 เสนอ อาจารย์จริญญา ม่วงจีน.
สถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดลำพูน จัดทำโดย ด.ญ.ธวัลรัตน์ ศรีวรรณา ชั้น ม.1/4 เลขที่ 17 เสนอ คุณครูอรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
สถาปัตยกรรมในสมัยอยุธยา
วรรณคดีสมัย กรุงรัตนโกสินทร์.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
2. พระพุทธ ศาสนาเถรวาทสายพุกาม เข้ามา ในช่วง พ. ศ. ๑๖๐๐ สายนี้เข้ามาสู่ไทยด้วย อิทธิพลของพระเจ้าอนุรุธมหาราช ผู้ได้ อำนาจในพม่าและตั้งเมืองหลวงขึ้นที่เมือง.
วรรณคดีสำคัญในสมัยอยุธยาตอนกลาง
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
พ่อขุนรามคำแหง จัดทำโดย นาย เจษฎากร ลิมปนุสรณ์ นาย เชิงชาย ตะโฉ
จีน ตะวันตกเฉียงเหนือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา กรุงศรีอยุธยา (พ.ศ. 2209) วาดโดยบริษัทดัตช์ตะวันออก http://th.wikipedia.org

แผนที่อาณาจักรอยุธยาประมาณ พ.ศ. 1953 (สีม่วงเข้ม http://th.wikipedia.org

พระพุทธศาสนาในสมัยอยุธยา ลักษณะโดยรวมของพุทธศาสนาในสมัยอยุธยามีลักษณะคือ โดยมากมุ่งแต่การบุญการกุศล บำรุงพระสงฆ์ สร้างวัดวาอาราม ปูชนียสถาน ปูชนียวัตถุ พิธีกรรม งานฉลองนมัสการ เช่น ไหว้พระธาตุและพระบาท เป็นต้น การบำเพ็ญจิตภาวนาก็เน้นไปทางความศักดิ์สิทธิ์อิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย์เสียเป็นส่วนใหญ่ มีเรื่องไสยศาสตร์ อาถรรพณ์เข้ามาปะปนเป็นอันมาก  การพระพุทธศาสนาในสมัยอยุธยานั้นเมื่อว่า

โบราณสถานทางพุทธศาสนาที่สำคัญ วัดพุทไธสวรรค์ (พ.ศ. 1896) http://th.wikipedia.org

บทบาทของวัดพุทไธสวรรค์ วัดนี้สร้าง ณ ตำบลเวียงเหล็ก สมโจพระรามาธิบดีที่ ๑ ทรงสร้าง เพื่อเป็นอนุสรณ์ที่ย้ายมาสร้างอยุธยา เป้นวัดที่ใช้ฝึกฝนวิชาการทหาร “พิชัยสงคราม” เป็นที่ประทับของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ สมเจพระสังฆราชฝ่ายขวา ซึ่งเป็นคณะสงฆ์ดั้งเดิม

วัดใหญ่ชัยมงคล (พ.ศ. ๑๙๐๐) หรือคณะวัดป่าแก้ว เน้นวิปัสสนาธุระ สร้างให้พระสงฆ์ที่กลับมาจากไปศึกษา ณ ประเทศศรีลังกา มีสมเด็จพระวันรัตน์ ประทับที่วัดนี้ เป้ฯสังฆราชฝ่ายซ้าย

พระพุทธศาสนาสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ๑๙๙๑-๒๐๓๑ พระพุทธศาสนาสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ๑๙๙๑-๒๐๓๑ ทรงถวายวังให้เป็นวัด คือวัดพระศรีสรรเพชญ์ ต่อมาพระราชโอรสได้สร้างพระพุทธรูปองค์ใหญ่ ห่อหุ้มด้วยทองคำหนัก ๒๒,๘๘๐ บาท ทรงหล่อรูปพระโพธิสัตว์ ๕๐๐ ชาติ เมื่อปี พ.ศ. ๑๙๖๗ เกิดคณะสงฆ์วัดป่าแก้ว ซึ่งเป็นพระสงฆ์ไทยเคยไปเรียนที่ศรีลังกา ทำให้มีการบาดหมางกับคณะสงฆ์เดิม ทรงผนวช ณ วัดจุฬามณี ที่ทรงให้สร้างขึ้นเสร็จเมื่อปี พ.ศ. ๒๐๐๘ ผนวชเมื่อครองราชย์ได้ ๑๗ ปี มีข้าราชบริพารบวชตามจำนวน ๒,๓๘๘ รูป

http://wiki.moohin.com

วัดพรศรีสรรเพชรญ์ ภาพจาก http://wiki.moohin.com

กำหนดให้มีประเพณีการบวชของเจ้านาย ข้าราชการผนวชเรียนระยะหนึ่ง พ.ศ.๒๐๕๓ เกิดวรรณคดีทางพุทธศาสนา คือ มหาชาติคำหลวง วรรณกรรมทางพุทธศาสนาเล่มแรกในสมัยอยุธยา เกิดประเพณีที่ผู้มีฐานะสร้างวัดจนมีคำกล่าวว่า “บ้านเมืองดี เขาสร้างวัดให้ลูกเล่น”

เกิดการเปลี่ยนแลงพุทธศิลป์ตามแบบขอมเป็นแบบสุโขทัย การสร้างปรางค์แบบศิลปกรรมสมัยลพบุรีซึ่งเป็นอิทธิพลจากขอม ได้เสื่อมลงได้มีเจดีย์รางระฆังคว่ำแบบลังกาเขามาแทนที่ เปลี่ยนแปลงศิลปในการสร้างพุทธรูปตามอิทธิพลขอมมาเป็นแบบสุโขทัย เช่นพระพุทธรูปยืน คือพระศรีสรรเพชญ์หุ้มด้วยทองคำหนัก 286 ชั่ง (ประมาณ 171 กิโลกรัม) ถวายพระนามว่า "พระศรีสรรเพชญ ดาญาณ" ซึ่งภายหลังเมื่อเสียกรุง พ.ศ.2310 พม่าได้เผา ลอกทองคำไปหมด และองค์พระพังยับเยิน 

นิยมบวชเรียน จนเกิดช่องว่างให้คนปลอมบวช จนพระองค์ทรงมีรับสั่งให้ออกหลวงสรศักดิ์ เป็นแม่กองประชุมสงฆ์สอบความรู้พระภิกษุสามเณร เพื่อตรวจสอบผู้ที่เข้ามาบวชแล้วไม่สนใจศึกษาพระปริยัติธรรม มีการให้ลาสิขา(สึก)สำหรับผู้หลบหนีมาบวชแล้วไม่มีความรู้ทางพระพุทธศาสนา

พระเจ้าหลุยส์ได้ทรงส่งเอกอัครราชทูตมาเจริญพระราชไมตรีและให้ทูลเชิญสมเด็จพระนารายณ์เข้ารีตด้วย ใน พ.ศ. ๒๒๒๘ สมเด็จพระนารายณ์ทรงผ่อนผันด้วยพระปรีชาญาณว่า “หากพระผู้เป็นเจ้าพอพระทัยให้พระองค์เข้ารีตเมื่อใด ก็จะบันดาลศรัทธาให้เกิดขึ้นในพระทัยของพระองค์เมื่อนั้น”

พระพุทธศาสนาในรัชกาลพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ในรัชกาลพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ (พ.ศ.๒๒๗๕–๒๓๐๑) การบวชเรียนกลายเป็นประเพณีถึงกับว่า ผู้ที่จะเป็นขุนนางมียศบรรดาศักดิ์ต้องเป็นผู้ได้รับการอุปสมบทมาเรียบร้อยเสียก่อน เจ้านายในพระราชวงศ์ทุกพระองค์ก็เหมือนกัน แสดงว่าผลจากการฝึกอบรมตามหลักธรรมคำสอนของพระพุทธศาสนาทำให้คนเป็นคนที่สมบูรณ์ยิ่งขึ้น เมื่อบวชแล้วจึงเป็น บัณฑิต แปลว่า ผู้รู้ ครั้นลาสิกขาสึกออกมาจึงกลายเป็น ทิด ซึ่งกร่อนมาจากบัณฑิตนั่นเอง

พระพุทธศาสนาเถรวาทแบบสยามวงศ์ เกิดความสัมพันธ์ทางพุทธศาสนาระหว่างอยุธยาและลังกา พุทธศาสนาในลังถูกพิษการเมือง เหลือสามเณรสรณังกรรูปเดียว เข้ามายังอยุธยาสมัยพระเจ้าบรมโกษฐ์ (พ.ศ.๒๒๙๔) เพื่อให้อยุธยาส่งพระธรรมฑูดไปช่วยฟื้นฟูพุทธศานาในลังกา อยุธยาได้ส่งพระอุบาลีและคณะประมาณ ๑๖ รูป ไปยังลังกา สถาปนาสยามวงศ์ที่นั่น