File.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างโปรแกรมภาษา JAVA
Advertisements

The InetAddress Class.
Suphot Sawattiwong Function ใน C# Suphot Sawattiwong
การจัดการความผิดพลาด
Structure Programming
Object and classes.
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
05_3_Constructor.
การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาตอนที่ ๓
ครั้งที่ 7 Composition.
Week4 Data types, Variables, Operators and Input/output (ต่อ)
Selected Topics in IT (Java)
Network programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
Network programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
LOGO Array. ประเภทของ Array - อาเรย์ 1 มิติ (One) - อาเรย์ 2 มิติ (Two) - อาเรย์ 3 มิติ (Three) 2.
บทที่ 3 Class and Object (1) การสร้างและการใช้งานคลาส
คลาสและวัตถุ (2) (Class & Object)
บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
คลาสและวัตถุ (3) (Class & Object)
คลาสและวัตถุ (2) (Class & Object)
คลาสและวัตถุ (3) (Class & Object). w5_000.rar การใช้งานเมธอดภายในคลาสเดียวกัน ข้อ 24, 25 as5_000.rar การใช้งานเมธอดภายในคลาสเดียวกัน ข้อ 23 2.
บทที่ 4 Method (1).
File I/O (1) โปรแกรมจะอ่านหรือเขียนข้อมูลผ่านท่อส่งข้อมูล (Stream)
การสืบทอดคุณสมบัติ (Inheritance)
สตริง (String).
String Class มหาวิทยาลัยเนชั่น การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA
อาร์เรย์ หรือแถวลำดับ (Array)
input from keyboard มหาวิทยาลัยเนชั่น การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 15 มิถุนายน 2550 Structure Programming มหาวิทยาลัยเนชั่น.
Algorithm มหาวิทยาลัยเนชั่น Java Pre-Test 49 (Series 1, 2 )
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 3 มิถุนายน 2550 Method of Class มหาวิทยาลัยเนชั่น.
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 7 มิถุนายน 2556 Text File Processing มหาวิทยาลัยเนชั่น.
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 22 มิถุนายน 2550 ความผิดพลาดที่พบ บ่อย มหาวิทยาลัยเนชั่น.
บทที่ 8 อาร์เรย์.
บทที่ 6 เมธอด.
ทำงานกับ File และStream
JAVA PROGRAMMING PART IV.
Handling Exceptions & database
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
คณิตศาสตร์ และการจัดรูปแบบ
โปรแกรมภาษาจาวาเบื้องต้น Basic Java Programming 3(2-2-5)
คำสั่งควบคุมการ ทำงาน การเขียนโปรแกรมโดยปกติ มีทั้งให้ทำงาน เป็นลำดับ ที่ละคำสั่ง บางครั้งมีการให้เปลี่ยน ลำดับในการทำคำสั่ง เพื่อให้การเขียน โปรแกรมมีประสิทธิภาพสูงสุด.
Liang, Introduction to Java Programming, Sixth Edition, (c) 2007 Pearson Education, Inc. All rights reserved Java Programming Language.
Liang, Introduction to Java Programming, Sixth Edition, (c) 2007 Pearson Education, Inc. All rights reserved Java Programming Language.
The ServerSocket Class ใช้ในการจัดทำเครื่องที่เป็นการบริการ ใช้ในการจัดทำเครื่องที่เป็นการบริการ โดยจะมี ช่วงชีวิตดังนี้ โดยจะมี ช่วงชีวิตดังนี้
Object Oriented Programming Handling Exceptions
Method of Class อ.สุพจน์ สิงหัษฐิต
การเขียนโปรแกรม ตอนที่ 1 (ต่อ)
Advanced Class Design in Java Java Packages Week #6 Jarungjit Parnjai
บทที่ 3 Class and Object (2).
บทที่ 2 การแสดงผลและรับข้อมูล
บทที่ 4 คำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
สายอักขระ เขียนโปรแกรม Java เบื้องต้น.
การแสดงผลและการรับข้อมูล (Data Output and Input)
Java Network Programming 1
chapter5 - คลาสนามธรรม - อินเตอร์เฟสคลาส
Inheritance และ Encapsulation.  การสร้างหรือพัฒนาคลาสใหม่จากคลาสเดิมที่ มีอยู่แล้ว  คลาสใหม่จะนำแอตทริบิวต์และเมธอดของ คลาสเดิมมาใช้  เป็นการถ่ายทอดคุณสมบัติจากคลาสหนึ่งสู่อีก.
เครื่องมือที่ใช้ JUnit4.8.1 on Eclipse SDK3.5.2 ขึ้นไป
การจัดการกับความผิดปกติ
Variable, Data type, Expression, Operators Data input, Data output
บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6.
เริ่มต้นเขียนโปรแกรมภาษาจา วา (Introduction to JAVA Programming)
การทำซ้ำ (for).
การเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปิด โครงสร้างโปรแกรม public class HelloWorld { public static void main(String[] args) { System.out.println(“Hello World”);
WEEK5-2: 14 SEP 2017 Input / Output Selection Statement
Java Translation Object and Class ในมุมมองคอมพิวเตอร์ Objects หรือ Instances หมายถึงวัตถุที่กำเนิดตัวตนจริงๆจากต้นแบบที่กำหนดโดยคลาส Object.
File.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

File

อ่านไฟล์ แสกนเนอร์นี้จะอ่านไฟล์จาก input.txt File inFile = new File(“input.txt”); Scanner in = new Scanner(inFile); ต่อจากนี้ก็ใช้ next, nextLine, nextInt ของ Scanner อ่านไฟล์ได้ตามใจ

เขียนไฟล์ PrintWriter out = new PrintWriter(“output.txt”); ถ้ามีไฟล์อยู่แล้ว ไฟล์จะถูกล้างทิ้ง แต่ถ้าไม่มีไฟล์ ไฟล์เปล่าๆจะถูกสร้างขึ้นให้เรา ถ้ามี File object อยู่แล้ว ก็ใช้ File object เป็นพารามิเตอร์ก็ได้ out.println(…..) ก็จะถูกเรียกใช้ได้ เวลาจะเลิกเขียนอะไรลงไฟล์แล้ว อย่าลืม out.close();

ตัวอย่างโปรแกรม อ่านไฟล์หนึ่ง แล้วไปเขียนลงอีกไฟล์ โดยเติมหมายเลขบรรทัดลงไปด้านหน้าข้อความทุกบรรทัด I am Sam. I am a man. /* 1 */ I am Sam. /* 2 */ I am a man.

import java. io. ; import java. util import java.io.*; import java.util.*; public class LineNumberer { public static void main(String[] args) throws FileNotFoundException { Scanner console = new Scanner(System.in); System.out.print("Input File: "); String inputFileName = console.next(); System.out.print("Output file: "); String outputFileName = console.next();

จะมีประโยชน์ตอนใช้กับ in.nextDouble() File inputFile = new File(inputFileName); Scanner in = new Scanner(inputFile); // May not find the specified file. PrintWriter out = new PrintWriter(outputFileName); int lineNumber = 1; while (in.hasNextLine()) { String line = in.nextLine(); out.println("/* " + lineNumber + " */ " + line); lineNumber++; } in.close(); out.close(); จะมีประโยชน์ตอนใช้กับ in.nextDouble()

ซึ่งอ่านทีละบรรทัดเราจะสามารถเอาทั้งบรรทัดมาใช้ต่อได้ เช่น int i=0; While (!Character.isDigit(line.charAt(i))){ i++; } เช่น ใช้กับไฟล์ที่บนหนึ่งบรรทัด มี ชื่อประเทศ ตามด้วยตัวเลขแสดงจำนวนประชากร String countryName = line.substring(0,i); String population = substring(i); int populationValue = Integer.parseInt(population.trim());

Reading one word at a time while(in.hasNext()){ String input = in.next(); System.out.println(input); } อ่านทีละคำ แต่คำๆหนึ่งคั่นด้วย เว้นวรรค tab หรือ new line เท่านั้น ดังนั้น Snow. 22234 C++ ก็ถือเป็นหนึ่งคำเช่นกัน

ถ้าจะเอาส่วนที่ไม่ใช่คำ ทิ้งไปล่ะ Scanner in = new Scanner(…); In.useDelimiter(“[^A-Za-z]+”);

นิดหน่อย กับ nextDouble มันไม่เอา white space ข้างหลังออกให้นะ สมมิติเรียก nextInt() กับ 1729\nHarry จะเหลือ \nHarry

Reading 1 character at a time Scanner in = new Scanner(…); In.useDelimiter(“”); while (in.hasNext()){ char ch = in.next().charAt(0); // คราวนี้ก็เล่นกับ ch ได้ตามใจ } บังคับตรงนี้นั่นเอง