Basel II : นาย พงษ์พันธ์ ชูรัตนสิทธิ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พรเทพ เบญญาอภิกุล คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Advertisements

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา Personal Income Tax
การประเมินโครงการลงทุน Capital Budgeting
ค่าของทุน The Cost of Capital
สถาบันคุ้มครองเงินฝาก 21 สิงหาคม 2551
บทที่ 8 โครงสร้างเงินทุน
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บรรษัทบริหารสินทรัพย์สถาบันการเงิน(บบส
ระบบเศรษฐกิจ.
สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
CHAPTER-15 “NATIONAL DEBT”
โครงการพัฒนา (Cross Function) กลุ่ม Tsunami2.
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
กบข. นำเงินสมาชิก ไปทำอะไร. กบข. นำเงินสมาชิก ไปทำอะไร.
การจัดส่งแบบรายงาน Basel II
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
ระบบบัญชีเดี่ยว.
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
งบลงทุน Capital Budgeting
เกณฑ์ Benchmark ใหม่ ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
1 ความเปลี่ยนแปลง ในภาคการเงินและในการ อภิบาลบริษัท ดร. อัมมาร สยามวาลา 9 ธันวาคม 2549.
Chapter8 การบัญชีและการวิเคราะห์งบการเงิน
บทที่ 5 แผนภูมิควบคุมสำหรับคุณลักษณะ
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
Financial Management.
ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
พระราชกฤษฎีกาเงินช่วยค่าครองชีพ ผู้รับเบี้ยหวัด บำนาญ พ.ศ. 2521
บทที่ 1 หลักการและหน้าที่ทางการเงิน
บทที่ 4 ผลตอบแทนและความเสี่ยง (1)
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
การศึกษาความเป็นไปได้ (Problem Definition and Feasibility Study)
การวิเคราะห์ Competency
โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า
ค่า Ft.
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC )
บทบาทของระบบสารสนเทศในองค์การ
1 รายงานสถานะกองทุน และผลการดำเนินงาน กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว.
บทที่ 2 การจัดหาเงินทุน (Financing)
RISK BASED CAPITAL คณะทำงาน RBC สมาคมประกันวินาศภัย
คณะทำงาน RBC สมาคมประกันวินาศภัย 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551
สินค้าคงเหลือ.
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
ลักษณะสำคัญของการซื้อขายล่วงหน้า
คู่มือเกณฑ์การจัดระดับเครดิต ของวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม.
การใช้ CAPM ประมาณการต้นทุนของเงินทุน
โครงสร้างของเงินทุนและการใช้ Leverage
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
การประเมินค่างาน ดร. สุจิตรา ธนานันท์.
บทที่ 4 การดำรงเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์
Chapter 11 ต้นทุนของเงินทุน
การบริหารและลดความเสี่ยงด้านการเงิน
1 โดย... ผู้ช่วยเลขาธิการสายพัฒนาและ วิเคราะห์ระบบการตรวจสอบ ( นายอำนาจ วงศ์พินิจวโรดม ) แนวทางการตรวจสอบ แบบใหม่
Risk Management Asst.Prof. Dr.Ravi.
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
กรณีศึกษามาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 สัญญาเช่า
ดุลการชำระเงิน Balance of payment
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
แหล่งที่มาและการใช้ไปของเงินทุนในสหกรณ์ เครดิตยูเนี่ยน
หน่วยที่ 3 ประเภทแหล่งข้อมูลทางการตลาด
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
บทที่ 1 บทบาทของการวิจัยตลาด
กรณีศึกษาบริษัท ผู้พิทักษ์ความสะอาด จำกัด
บทที่ 3 งบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันซื้อหุ้น
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
บทที่ 4 ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ
Risk Based Capital by Thanachart Life Assurance
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Basel II : นาย พงษ์พันธ์ ชูรัตนสิทธิ์ 434 55616 29 นาย พงษ์พันธ์ ชูรัตนสิทธิ์ 434 55616 29 นาย พัฒิวิชญ์ ปรมาพจน์ 434 55639 29

ความแตกต่างที่สำคัญระหว่าง Basel Capital Accord และ Basel II เพิ่มเติมรายละเอียดในด้านการตรวจสอบการกำกับเงินกองทุน และวินัยทางการตลาด ประกอบด้วยเนื้อหา 3 ส่วน Mininum Capital Requirements Supervisory Review Market Discipline อัตราส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยงไม่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม

ความแตกต่างที่สำคัญระหว่าง Basel Capital Accord และ Basel II ส่วนประกอบของเงินลงทุนยังไม่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม วิธีคำนวณสินทรัพย์เสี่ยงเปลี่ยนแปลงไป : ให้ความสำคัญกับ Operational Risk วิธีคำนวณสินทรัพย์เสี่ยงเปลี่ยนแปลงไป : ความเสี่ยงด้านเครดิต

ความแตกต่างที่สำคัญระหว่าง Basel Capital Accord และ Basel II ประเด็นสำคัญ Basel Capital Accord 1988 Basel II 2001 โครงสร้างของเนื้อหาหลัก หระกอบด้วยเนื้อหาที่กล่าวถึงการดำรงฐานะเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง และวิธีการวัดความเสี่ยง -ข้อกำหนดในการดำรงเงินกองทุนขั้นต่ำ -การตรวจสอบการกำกับเงินกองทุน -วินัยทางการตลาด อัตราส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง ลิงค์ประกอบของเงินกองทุน 8% ขั้นต่ำ

ความแตกต่างที่สำคัญระหว่าง Basel Capital Accord และ Basel II ประเด็นสำคัญ Basel Capital Accord 1988 Basel II 2001 การคำนวณสินทรัพย์เสี่ยง เน้นไปที่การพิจารณา Credit risk และ Market risk (ปรับปรูงเพิ่มในปี 1996) ปรับปรุงวิธีการวัด Credit riskโดยแบ่งเป็น 3 รูปแบบพร้อมทั้งเพิ่มการวัด Operational risk ขึ้นโดยแบ่งเป็น 3 รูปแบบเช่นกัน

ความแตกต่างที่สำคัญระหว่าง Basel Capital Accord และ Basel II ประเด็นสำคัญ Basel Capital Accord 1988 Basel II 2001 วิธีการวัด Credit risk ใช้วิธีการถ่วงน้ำหนักความเสี่ยงตามประเภทสินทรัพย์ในงบดุล และกำหนดค่าแปลงสภาพสำหรับสินทรัพย์นอกงบดุลโดยไม่พิจารณาถึงความเสี่ยงของลูกค้า หรือคู่ ธุรกรรมแต่ละรายที่ต่างกัน ปรับปรุงวิธีการวัดความเสี่ยงเครดิตให้สามารถสะท้อนความเสี่ยงเครดิตของลูกค้าแต่ละประเภท แต่ละรายที่ดีขึ้นโดยมีวิธีการวัด 3 แบบ คือ 1 Standardised Apporoach 2 Foundation Internal ratings-based (IRB) 3 Advanced IRB Appoach

ความแตกต่างที่สำคัญระหว่าง Basel Capital Accord และ Basel II สูตรการคำนวณอัตราเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสียงโดยอัตราเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยงจะเท่ากับ (ไม่ต่ำกว่า 8%) วิธีการประเมินความเสี่ยง Basel Capital Accord 1988 (ธนาคารแห่งประเทศไทยใช้ในปัจจุบัน) เงินกองทุนทั้งหมด / Credit risk ความเสี่ยงเครดิต : คำนวณจากน้ำหนักความเสี่ยงและค่าแปลงสภาพที่ BIS กำหนดไว้แยกตามประเภทสินทรัพย์

ความแตกต่างที่สำคัญระหว่าง Basel Capital Accord และ Basel II สูตรการคำนวณอัตราเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสียงโดยอัตราเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยงจะเท่ากับ (ไม่ต่ำกว่า 8%) วิธีการประเมินความเสี่ยง Basel Capital Accord หลังจากปรับปรุง 1996 เงินกองทุนทั้งหมด / Credit risk +Market risk Barket risk : วิธีการคำนวณ มีทางเลือก 2 ด้วยกันได้แก่ -Standardised measurement method -Internal model appoach

ความแตกต่างที่สำคัญระหว่าง Basel Capital Accord และ Basel II สูตรการคำนวณอัตราเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสียงโดยอัตราเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยงจะเท่ากับ (ไม่ต่ำกว่า 8%) วิธีการประเมินความเสี่ยง Basel II ( New Capital Accord ) เงินกองทุนทั้งหมด / Credit risk +Market+Operational risk Operational มี 3 วิธีในการประเมิน ได้แก่ -Basic Indicator Appoach -Standardised Appoach -Advances Measurement Approaches (AMA)

การคำนวณความเสี่ยงด้านเครดิต ตัวอย่างที่ 1 การถือสิทธิเรียกร้องเหนือรัฐบาลประเทศใดประเทศหนึ่ง เช่น พันธบัตรรัฐบาล จะมีความเสี่ยงหลังจากประเมินอันดับความน่าเชื่อถือของประเทศนั้นๆ แล้วดังนี้ อันดับเครดิต AAA ถึง AA- A+ ถึง A- BBB+ ถึงBBB- ต่ำกว่า B- ไม่ได้จัดอันดับ น้ำหนักความเสี่ยง 0% 20% 50% 150% 100%

การคำนวณความเสี่ยงด้านเครดิต ตัวอย่างที่ 2 กาปล่อยเงินเชื่อให้ลูกค้ารายใหญ่ หลังจากที่ลูกค้าแต่ละรายได้รับการจัดอันดับความน่าเชื่อถือแล้ว ก็จะมีน้ำหนักความเสี่ยงดังนี้ อันดับเครดิต AAA ถึง AA- A+ ถึง A- BBB+ ถึงBBB- ต่ำกว่า B- ไม่ได้จัดอันดับ น้ำหนักความเสี่ยง 0% 20% 50% 150% 100%

ผลกระทบต่อการดำเนินงานของธนาคารพาณิชย์ไทย มาตรฐานเงินกองทุนใหม่ สร้างเสถียรภาพในระบบการเงินไทย และเพิ่มความเป็นธรรมในการแข่งขันระหว่างธนาคารพาณิชย์ในประเทศ ฐานข้อมูลของลูกค้า ปัจจัยสำคัญที่ช่วยหนุนการเดินหน้าตาม Basel II ระยะเวลาของการเก็บสะสมข้อมูล ประเภทของลูกค้า และข้อมูลด้านหลักประกัน

ผลกระทบต่อการดำเนินงานของธนาคารพาณิชย์ไทย จำนวนบริษัทที่ได้รับการจัดอันดับเครดิต ยังจำกัด คุณภาพสินเชื่อและสินทรัพย์อาจกระทบต่อความเพียงพอของเงินทุนหากธนาคารพาณิชย์มีการกันสำรองในระดับต่ำ ความเสี่ยงจากการดำเนินงาน (Operational risk) และความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของราคาตลาด (Market risk) เพิ่มตัวหารของสัดส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง