กลไกราคากับผู้บริโภค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คำอธิบายรายวิชา ศึกษาหลักทั่วไปของเศรษฐศาสตร์จุลภาคและมหภาค ในเรื่องปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ปัจจัยกำหนดอุปสงค์และอุปทานของสินค้าพฤติกรรมผู้บริโภค ลักษณะสำคัญของตลาดสินค้าที่มีการแข่งขันอย่างสมบูรณ์และไม่สมบูรณ์
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
Offer curves and the terms of trade ดร.วิธาดา อนุกูลวรรธกะ
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471)
เศรษฐศาสตร์แรงงาน ศ. 471 สหภาพแรงงาน
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายได้ของผู้บริโภค
ตัวอย่างการประยุกต์อุปสงค์/อุปทาน
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
เศรษฐศาสตร์จุลภาคเป็นการศึกษาพฤติกรรม (behavior) ของหน่วยเศรษฐกิจแต่ละประเภท (individual economic units) ได้แก่ • ผู้บริโภค • แรงงาน • เจ้าของธุรกิจ.
ราคาและวิธีการกำหนดราคา
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
อุปสงค์ อุปทาน และ การกำหนดราคา Applications
รศ.ดร. ชวินทร์ ลีนะบรรจง
Q1. การที่ Supply เลื่อนระดับดังภาพ เกิดขึ้นเนื่องจากสาเเหตุใดบ้าง ?
ลัทธิคลาสสิคใหม่ Neoclassical Economics
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
การบริหารสินค้าของร้านค้าปลีก (Management of retail products)
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 3 ระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพ และการเปลี่ยนแปลง 2/2550
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
แนวคิดการตลาดและการกำหนด กลยุทธ์การตลาด
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ
ตลาดและการแข่งขัน.
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics)
พฤติกรรมผู้บริโภค.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรมธุรกิจ
Integrated Marketing Communication
ความรู้เบื้องต้นในการวินิจฉัยธุรกิจ
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
บทที่ 8 รายรับและกำไรจากการดำเนินธุรกิจ
โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
บทที่ 4 การกำหนดเป็นดุลยภาพของตลาดการเปลี่ยนแปลง ภาวะดุลยภาพ และการแทรกแซงดุลยภาพของตลาด ความหมายของดุลยภาพของตลาด ดุลยภาพ (Equilibrium ) หมายถึง ภาวะสมดุลที่เกิดขึ้นเมื่ออุปสงค์เท่ากับอุปทานโดยจุดดุลยภาพจะแสดงราคาดุลยภาพ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ตลาด ( MARKET ).
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 7 การดำเนินการผลิตในระบบอุตสาหกรรมเกษตร
ความสำคัญและประโยชน์ ของการวิจัยการตลาด
บทที่ 3 การตลาด ความหมายของการตลาด
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
ครูศรีวรรณ ปานสง่า วิธีการทาง เศรษฐศาสตร์ ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลไกราคากับผู้บริโภค โดยครูนพดล ชาวนาผล โรงเรียนสัตหีบวิทยาคม จังหวัดชลบุรี

สภาพปัญหา ความต้องการของผู้บริโภคและผู้ผลิตไม่ตรงกัน ปัญหาสินค้ามีราคาแพง ปัญหาสินค้าขาดตลาด

แนวทางการแก้ไขปัญหา ผู้ผลิตต้องศึกษาพฤติกรรมของผู้บริโภค ผู้ผลิตต้องผลิตสินค้าและบริการให้เพียงพอต่อความต้องการของผู้บริโภค จำหน่ายสินค้าในราคายุติธรรม

การปฏิบัติ การกำหนดราคา ( Price determination ) เป็นสภาวะที่ตลาดมีการ แข่งขัน ราคาสินค้าจะถูกกำหนดโดย อุปสงค์ และ อุปทานของตลาด เนื่องจาก ปริมาณซื้อสินค้า ปริมาณ ขายสินค้า ขึ้นอยู่กับระดับราคาสินค้า ทำให้ผู้บริโภค และ ผู้ขายมีการปรับตัวตามระดับราคาสินค้าที่เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งจะเป็นไปตาม กฎของ อุปสงค์ และกฎของ อุปทาน การปรับตัวนี้ส่งผลต่อปริมาณซื้อและ ปริมาณขายเท่ากัน ณ ระดับราคาหนึ่ง ซึ่งเรียกระดับราคานี้ว่า ระดับราคาดุลย ภาพ ( price equilibrium ) และ ปริมาณซื้อที่เท่ากับ ปริมาณขาย เรียกว่า ปริมาณ ดุลยภาพ ( quantity equilibrium ) และ เรียก ระดับราคาดุลยภาพ ปริมาณดุลยภาพ ว่า ดุลยภาพของตลาด

ผลการปฏิบัติ ผู้ผลิตมีและผู้บริโภคมีความต้องการตรงกัน ราคาและปริมาสินค้าปรับตัวตามตลาด(ราคาดุลยภาพ) ราคาสินค้าไม่แพงจนผู้บริโภคไม่สามารถซื้อได้

อ้างอิง http://www.vcharkarn.com/vblog/35783/4 วิชาการ.คอม - วิชาหลักเศรษฐศาสตร์ (ราคาดุลยภาพ) http://www.econ.neu.ac.th/econ/chapter/lesson02/data11.html เศรษฐศาสตร์จุลภาค 2 MICROECONOMICS 2...