Learning Organization PSU. โดย พิชิต เรืองแสงวัฒนา ประธานคณะกรรมการพัฒนาระบบบริหารความรู้ในองค์กร
วิสัยทัศน์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำในระดับภูมิภาคเอเชียที่ทำหน้าที่ผลิตบัณฑิต บริการวิชาการและทำนุบำรุงวัฒนธรรม โดยมีการวิจัยเป็นฐาน
แผนพัฒนามหาวิทยาลัย 2550-2554 เป้าประสงค์ 6 เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะ สร้างวัฒนธรรมองค์กร สู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ที่มีการสร้างสมและจัดการองค์ความรู้ เพื่อเกิดการพัฒนาอย่างมั่นคงยั่งยืน
Tool วาระ 1.2 ผลการหารือประเด็น Learning Organization PSU ตัวชี้วัด LO 1.กระบวนงานกิจกรรมที่พัฒนา 2.พฤติกรรมของบุคคลในองค์กร ผลลัพธ์ การกระตุ้นและการส่งเสริม ตัวชี้วัด LO ประเด็นความรู้ ชุดความรู้ วิธีการเรียนรู้ การถ่ายทอดและ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในองค์กร การนำความรู้มาประยุกต์และปฏิบัติได้ ใช้ประสบการณ์จากการเรียนรู้ เกิด Bp และนวัตกรรม การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง การพัฒนาแบบก้าวกระโดด Tool ทำอย่างไร จำนวนงานและวิธีการทำงานใหม่ๆ แนวปฏิบัติที่ดี 5 สภาวะที่สนับสนุน 1.Share vision 2.mental model 3.Personel mastery 4.system thinking 5.Team leaning เป้าหมายของการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ learning organization องค์กรที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและเป็นองค์กรแนวหน้า
อ้างถึง...กระบวนการ ADLI Approach-A Deployment- D Learning-L การปรับปรุงแนวทางให้ดีขึ้นโดยใช้วงจรการประเมินและการปรับปรุง การกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างก้าวกระโดดของแนวทาง ผ่านการสร้างนวัตกรรม การแบ่งปันความรู้ที่ได้จากการปรับปรุงและการสร้างนวัตกรรมกับหน่วยงานและกระบวนการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องภายในองค์กร Integration-I
PMQA/TQA กับ ม.อ. และการไปสู่ LO หมวด 1 หมวด 2 หมวด 3 D หมวด 5 หมวด 6 หมวด 7 “Learning” หมวด 4 I 1.มีการพัฒนา 2.มีการเรียนรู้แบบก้าวกระโดด 3.มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อให้คนเก่งขึ้น องค์กร เก่งขึ้น
แนวทางการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยต้องแสดงให้เห็นว่า มีกระบวนการ Learning แทรกในทุกภารกิจ แต่ละกระบวนการมี “L “ อย่างไรบ้าง ผลักดันให้การเขียนรายงานการประเมินคุณภาพเห็นการเรียนรู้ในการทำงานที่ดีขึ้นในทุกๆ ปี จะทำให้เห็นการพัฒนาที่ต่อเนื่อง (CQI) ทำให้ปรากฏเป็นส่วนหนึ่งใน SAR หน่วยงาน ประเมินผลลัพธ์ที่พัฒนา จากการเรียนรู้ของคณะหน่วยงาน จาก SAR นำมา ประมวลเป็น “การเรียนรู้ในภาพองค์กร” นำเสนอในที่ประชุมที่เกี่ยวข้อง ที่ประชุมคณบดี ทีมเลขาการประเมิน และทีมเขียนรายงานระดัมมหาวิทยาลัย ส่งสัญญาณ ไปยัง คณะ หน่วยงาน เน้น กระบวนการ learning