รูปร่างลักษณะและชีวประวัติของยุง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ แมลงที่สำคัญทางการแพทย์
Advertisements

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ตัวเรา
น้ำมันรั่วที่เกาะเสม็ด.....
ควบคุมโรคแอนแทรกโนสของมะม่วงเพื่อการส่งออกได้อย่างไร
พฤติกรรมการถ่ายทอดลูกหลานของแมลง Brood Producing Behaviors in Insects
Cryptoleamus montrouzieri
Fungi on Lizard : a Hazard in Your Home
การควบคุมปลวกโดยชีววิธีด้วยการใช้เชื้อราเขียว Metarhizium anisopliae Metschnikoff Biological Control of Termites by Using the Green Muscardine Fungus.
การดึงดูดเพลี้ยไฟของกับดักกาวเหนียวสี Attractiveness of thrips to colored sticky trap NR.
A wonderful of Bioluminescence
น้ำมันปิโตรเลียม น้ำมันปิโตรเลียม หมายถึง น้ำมันดิบ (crude oil) ก๊าซธรรมชาติ (natural gas) ก๊าซธรรมชาติเหลว สารพลอยได้ และไฮโดรคาร์บอนอื่นๆที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ
พฤติกรรมการวางไข่ของแมลงวันผลไม้ :Bactrocera dorsalis
ผลต่อการดูดเลือดและการไล่ยุงของ สารสกัดเมล็ดสะเดา
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
สารสกัดเมล็ดสะเดาที่มีผลต่อการยับยั้งการวางไข่ ของแมลงวันผลไม้
สัมมนา ผลกระทบของสารฆ่าแมลงต่อศัตรูธรรมชาติ
อิทธิพลของสภาวะโลกร้อนที่ส่งผลต่อ แมลงศัตรูพืช
แมลงศัตรูไม้สัก Insect Pest of Teak Trees
การทดสอบเลี้ยงต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิงในดินชนิดต่างๆ
มวนแดงนุ่น Kapok bug Odontopus nigricornis Stal
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
ยินดีต้อนรับ ผู้เข้าร่วมการอบรม
การจำแนกพืช.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
เสนอ รศ.สุวิทย์ วรรณศรี รายวิชา BIOL351 ชีววิทยาของสัตว์ในท้องถิ่น
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
สถานการณ์ แนวโน้มและผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
วงจรชีวิตของผีเสื้อ.
นางสาวสุธาสินี ภัยชนะ
ไข้เลือดออก.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม มกราคม สัปดาห์ที่ 2 ปี 2553 ต่อแสนประชากร.
( วงจรชีวิตและชีวนิสัย )
เลือดออก ไข้ haemorrhagic fever โรคไข้เลือดออกคืออะไร
ทางเลือกในการควบคุมยุงพาหะนำโรค
ควบคุมโรคจากแมลงพาหะ
กีฎวิทยาและการควบคุม
การจัดการพาหะนำโรค ในสถานการณ์ปัจจุบัน
การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก มาตรการ 333 ประชาสัมพันธ์ ปราบลูกน้ำยุงลาย มาตรการสกัดกั้นเชื้อ การควบคุมกำกับ ระบบรายงานและฐานข้อมูล การวินิจฉัยโรคที่เที่ยงตรง.
วิวัฒนาการ ของแมลงวัน
ไข้เลือดออก.
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
วิชาวิทยาศาสตร์ (ว31101 )ชั้น ม. 1
กระบวนการแพร่และออสโมซิส The process of diffusion and osmosis.
การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม
แตนเบียนไข่ไตรโครแกรมม่า Trichogramma spp.
หนอนหัวดำมะพร้าว Opisina arenosella Coconut black headed caterpillar
นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดชัยนาท
การใช้แมลงศัตรูธรรมชาติควบคุม เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
นิวคาสเซิล ไปถึงไหนกันแล้ว?
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น
การแพร่กระจายของประชากร (Dispersion)
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
สถานที่ปรุง ประกอบ จำหน่ายอาหาร
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
การเจริญเติบโตของพืช
ประเภทของมดน่ารู้.
การเพาะเลี้ยงแมลงห้ำ
Welcome to .. Predator’s Section
ปลาหางนกยูง.
เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล(Brown planthopper)
ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยบูรพาวิทยาเขตสระแก้ว
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การยับยั้งการวางไข่ของยุงโดยสารสกัดจากพืช Anti-Oviposition of Mosquitoes by Plant Extracts

รูปร่างลักษณะและชีวประวัติของยุง ยุงเป็นแมลงที่มีขนาดเล็กมีส่วนหัว อก และท้อง มองเห็นได้ชัดเจนและสามารถแยกออกจากแมลงชนิดอื่น ซึ่งมีวงจรชีวิตแบบสมบูรณ์ ภาพที่ 1 วัฏจักรชีวิตของยุง ที่มา: นิรนาม(ม.ป.ป.)

ยุงที่เป็นพาหะนำโรคที่สำคัญ ยุงก้นปล่อง โรคมาลาเรีย ยุงรำคาญ โรคไข้สมองอักเสบและโรคเท้าช้าง ยุงลาย โรคไข้เลือดออก ยุงลายเสือ โรคเท้าช้าง ที่มา: http://mylesson.swu.ac.th/mb322/chapter6.htm http://www.vcharkarn.com/uploads/21/21613.jpg

การแพร่พันธุ์ ยุงทุกชนิดแพร่พันธุ์โดยการวางไข่ ยุงตัวเมียจำเป็นจะต้องกินเลือดก่อนการวางไข่ทุกครั้ง เพื่อนำโปรตีนจากเลือดมาเพื่อทำให้ไข่เจริญเติบโตเต็มที่ ที่มา:http://www.thaitravelclinic.com/thai/imgnews/3.jpg

ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการพักตัวของยุง ความร้อน-ความเย็นของอากาศ อุณหภูมิของน้ำที่ลูกน้ำยุงอาศัยอยู่ ความสั้นยาวของกลางวันและกลางคืน ความเข้มของแสงและ ความชื้น

ใบมะแว้ง ขมิ้นชัน สารสกัดจากพืช ผลมะกรูด

จำนวนไข่ยุง (ค่าเฉลี่ย±S.D.) ตารางที่ 1 ประสิทธิภาพของใบมะแว้งในการยับยั้งการวางไข่ของยุง An.stephensi เพศเมีย ความเข้มข้น (%) จำนวนไข่ยุง (ค่าเฉลี่ย±S.D.) ผลการยับยั้ง(%) สารสกัดจาก ใบมะแว้ง กลุ่มควบคุม 0.1 5.2 ± 1.3 998.2 ± 3.5 99.4 0.075 92.6 ± 1.7 913.6 ± 3.9 89.8 0.05 276.2 ± 4.0 827.8 ± 4.8 66.6 0.025 422.6 ± 4.0 756.2 ± 3.5 44.0 0.01 588.6 ± 4.9 722.8 ± 3.1 18.4 ที่มา : Xue และคณะ (2001)

จากตารางที่ 1 สรุปได้ว่า จากตารางที่ 1 สรุปได้ว่า ใบมะแว้ง ที่ความเข้มข้นต่ำสุด 0.01% พบจำนวนไข่เฉลี่ย 588.6 ฟอง กลุ่มควบคุมมีจำนวนไข่เฉลี่ย 722.8 ฟอง ให้ผลยับยั้งวางไข่น้อยเพียง 18.4% และจากข้อมูลการทดลอง ที่ระดับความเข้มข้นตั้งแต่ 0.075% ให้ผลการยับยั้งค่อนข้างดีคือ 89.8%

ค่าเฉลี่ยของจำนวนไข่ยุง(ค่าเฉลี่ย±S.D.) ผลการยับยั้ง(%) ตารางที่ 2 ประสิทธิภาพของน้ำมันหอมระเหยขมิ้นชันในการยับยั้งการวางไข่ ของยุงชนิดต่างๆ ชนิดของยุง ค่าเฉลี่ยของจำนวนไข่ยุง(ค่าเฉลี่ย±S.D.) ผลการยับยั้ง(%) น้ำมันหอมระเหยจากเหง้าขมิ้นชัน กลุ่มควบคุม ยุงลายบ้าน (Ae. aegypti ) 82.3 ± 23.1 978.4 ±140 91.5 ยุงลายสวน (Ae. albopictus ) 248.6 ± 73.4 516.1 ± 64 51.8 ยุงก้นปล่อง (An. dirus ) 73.5 ± 12.8 902.7 ± 94 91.8 ยุงรำคาญ (Cx. quinquefasciatus ) 0.7 ± 0.2 3.8 ± 0.5 81.5 ที่มา : อภิวัฏ และคณะ (ม.ป.ป.)

จากตารางที่ 2 สรุปได้ว่า น้ำมันหอมระเหยจากขมิ้นชัน ที่ความเข้มข้น 200 ไมโครลิตร/น้ำ 200 มิลลิลิตร (0.0025%) มีประสิทธิภาพในการยับยั้งการวางไข่ของยุงทั้ง 4 ชนิด นอกจากนี้อัตรา การฟักของไข่ในถ้วยทดสอบที่มีน้ำมันหอมระเหยขมิ้นชันจะต่ำกว่าอัตราการฟักของไข่ในถ้วยควบคุม

จำนวนของไข่ยุงลายบ้านที่วางในภาชนะวางไข่ (ครั้งที่) ตารางที่ 3 การยับยั้งการวางไข่ของผลมะกรูดที่มีต่อยุงลายบ้าน Ae. aegypti ตัวเต็มวัย รูปแบบภาชนะ วางไข่ จำนวนของไข่ยุงลายบ้านที่วางในภาชนะวางไข่ (ครั้งที่) ค่าเฉลี่ย  ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1 2 3 4 มีผลมะกรูด 5,236 5,812 4,981 4,606 5,158.75  506.56 ไม่มีผลมะกรูด 2,568 3,049 3,637 2,714 2,992  474.81 ที่มา : เจริญ และคณะ (ม.ป.ป.)

จากตารางที่ 3 สรุปได้ว่า จากตารางที่ 3 สรุปได้ว่า ผลมะกรูดไม่มีผลต่อการยับยั้งการวางไข่ของยุงลายตัวเต็มวัย และยังพบว่าในภาชนะที่มีผลมะกรูดยังมีจำนวนไข่ที่วางมากกว่าภาชนะที่ไม่มีมะกรูด

สรุป สารสกัดจากขมิ้นชัน ใบมะแว้ง มีประสิทธิภาพในการยับยั้งการวางไข่ของยุง เปอร์เซ็นต์การยับยั้งการวางไข่ของสารสกัดขมิ้นชันที่ 0.0025% และใบมะแว้งที่ 0.1% เท่ากับ 91.8% และ 99.4% ตามลำดับ ผลมะกรูดไม่มีผลต่อการยับยั้งการวางไข่ของยุงลายตัวเต็มวัย ซึ่งพบว่าเมื่อนำเอาไข่มาฟัก ก็ปรากฏว่าไข่สามารถฟักออกมาเป็นลูกน้ำระยะที่ 1 เกือบ 100 % ได้ภายใน 3 ชั่วโมง

นายณรงค์ งามภาษีเจริญกุล รหัสนักศึกษา 4740061 โดย นายณรงค์ งามภาษีเจริญกุล รหัสนักศึกษา 4740061 อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร.อรัญ งามผ่องใส ภาควิชาการจัดการศัตรูพืช คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90112 โทร. 074-286101-2