จะประหยัด พลังงาน ได้อย่างไร? ถ้ายังไม่รู้ว่า เค้าคิดค่าไฟ เรายังไง???

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โรงพยาบาล เบอร์ 5.
Advertisements

10 บัญญัติ ประหยัดน้ำมัน
ชื่อโครงงาน : การอนุรักษ์พลังงานของระบบควบคุมแรงดันน้ำ Inside Outside
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา Personal Income Tax
อัตราค่า บำรุงการใช้ ห้องอบรม 1 รายการอัตรา ก. ค่ากระแสไฟฟ้า 27 บาท / ชั่วโมง ข. ค่าอุปกรณ์ - เครื่องเสียง 300 บาท / วัน - โต๊ะ / เก้าอี้ / โซฟา 100 บาท.
โครงการรณรงค์การจัดการสิ่งแวดล้อม
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
เกมธุรกิจแห่งชาติ ตัวชี้วัด น้ำหนัก 1 ยอดขาย 10% 2 กำไร 40% 3 ROE 15%
ฝึกคำนวณค่าโทรศัพท์มือถือ
ภาวะโลกร้อน จัดทำโดย 1. ด.ช. ศักดิ์ดา โนนน้อย เลขที่ ด.ช. ณัฐชนน วงศ์สุริยา เลขที่ ด.ญ. มินตรา เสือภู่ เลขที่ ด.ญ. วราภรณ์ คอบุญทรง เลขที่
บทที่ 1 อัตราส่วน.
การคำนวณหาขนาดของฟิวส์ ใช้สูตร
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
โรงไฟฟ้าพลังงานลม.
การเรียนรู้ คณิตศาสตร์
KMUTT ไฟฟ้า จาก แสงอาทิตย์ นาย ชาย ชีวะเกตุ.
การเตรียมการเพื่อการจ่ายค่าตอบแทนตามภาระงาน
คณะกรรมการ “รวมพลังศรีปทุมหารสอง”
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
แนะนำวิธีการลดการใช้พลังงาน
โครงสร้างต้นทุนการผลิตและราคาขาย ณ โรงงานสุรา (สุรากลั่นชุมชน)
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
ความรู้เบื้องต้นเรื่องภาษี ( TAX)
(Applications of Derivatives)
ก. จำนวนครั้งที่สั่งซื้อสบู่ ข. ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อต่อเดือน
หลักเกณฑ์ และ ระเบียบการเงิน สำหรับเครือข่าย iTAP
25 กุมภาพันธ์ 2547 คริส และ ชื่นชม กรีเซน
ชุดวิชา : การประเมินแรงม้าเครื่องจักร
เป้าประสงค์ คิดคำนวณกำไร – ขาดทุนจากการประกอบอาชีพ
งานข้อมูลข่าวสารฝ่ายบริหารทั่วไป โรงพยาบาลเชียงรายประชา นุเคราะห์ 1.
การส่งเสริมการผลิตไฟฟ้า พลังงานหมุนเวียน “ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า”
โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า
การรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน
กลุ่มราคาไฟฟ้าและคุณภาพบริการ (รฟ.)
ค่า Ft.
คำสั่งลำลอง.
ประกาศการท่าเรือแห่งประเทศไทย เรื่อง การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมพิเศษการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงของการให้บริการเรือลากจูง ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 2 กรกฎาคม.
สรุปสาระสำคัญ 1. ผู้ที่มีเครื่องกำเนิดไฟฟ้าซึ่งมีกำลังผลิตรวมตั้งแต่ 200กิโลโวลต์แอมแปร์ขึ้นไป อยู่ในครอบครอง เพื่อทำการผลิตไฟฟ้า จะต้อง ขออนุญาต ทำการผลิตพลังงานควบคุม.
การคำนวณค่าไฟฟ้า.
การประยุกต์ใช้ค่าเงินที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
หน่วยที่ 4 การปรับปรุงตัวประกอบกำลัง
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)
เงินฝากมี 3 ประเภท คือ เงินฝากออมทรัพย์ทั่วไป เงินฝากออมทรัพย์พิเศษ
การอนุรักษ์พลังงาน ในระบบไฟฟ้าแสงสว่าง และอุปกรณ์สำนักงาน.
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
การคำนวณการใช้พลังงานไฟฟ้า
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
"เลือกหลอดผอมเบอร์5 เลือกบ้านไฟฟ้า"
การสอบแข่งขันทักษะคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา (รอบที่ 1 คิดเลขเร็ว)
หน้าที่ของกรมธรรม์ประกันชีวิต (สัญญาหลัก)
การเตรียมความพร้อมในการเขียนเอกสาร
ระเบียบการรับซื้อไฟฟ้า จากผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก พ.ศ. 2550
2.3 การเสนอตัวอย่างการคำนวณเบี้ยประกัน
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเรื่อง กำหนดมาตรฐานค่าความทึบแสงของเขม่าควันจากสถานประกอบกิจการที่ใช้ หม้อไอน้ำ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่
โครงการประหยัดพลังงานไฟฟ้าแสงสว่างภายในห้องน้ำอาคารบริหาร คณะศิลปศาสตร์ โดย นายวุฒิชัย บุญแท้
การเลี้ยงกุ้งเชิงเศรษฐนิเวศน์ด้านพลังงาน
วิชาการบัญชีสินค้าและระบบบัญชีเดี่ยว
มาตรการประหยัดพลังงาน
1. ธุรกิจบริการ สหกรณ์เป็นตัวกลางในการเก็บค่า กระแสไฟฟ้าที่ใช้ในการส่งน้ำเพื่อ การเกษตรของโครงการสูบน้ำและ บำรุงรักษาสุโขทัย ( ชลประทาน ) ธุรกิจนี้สหกรณ์จะมีรายได้จากการ.
ภาวะราคาปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดชุมพร จังหวัดกระบี่
Load Factor คืออะไร?.
ฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป สัปดาห์ที่ 15 วันที่ มกราคม 2557.
You ซื้อมา 1,000 PVX 30% = 300 บ. ซื้อมา 4,000 PVX 30% = 1,200 บ. ซื้อมา 10,000 PV X 30% = 3,000 บ. ซื้อมา 20,000 PVX 30% = 6,000 บ. รวมรายได้ทั้งหมด.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศการท่าเรือแห่งประเทศไทย เรื่อง การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมพิเศษการใช้ น้ำมันเชื้อเพลิง ของการให้บริการเรือลากจูง.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศการท่าเรือแห่งประเทศไทย เรื่อง การเรียกเก็บค่าธรรมเนียม พิเศษการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง ของการให้บริการเรือลากจูง.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศการท่าเรือแห่งประเทศไทย เรื่อง การเรียกเก็บค่าธรรมเนียม พิเศษการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงของ การให้บริการตู้สินค้า.
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เขต 3 ภาคกลาง นครปฐม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จะประหยัด พลังงาน ได้อย่างไร? ถ้ายังไม่รู้ว่า เค้าคิดค่าไฟ เรายังไง??? วิธีการคิดค่าไฟฟ้า และแนวทางการจัดการค่าพลังไฟฟ้า จะประหยัด พลังงาน ได้อย่างไร? ถ้ายังไม่รู้ว่า เค้าคิดค่าไฟ เรายังไง???

+ + สูตรการคิดค่าไฟฟ้า ค่าไฟฟ้าฐาน ค่าไฟฟ้าผันแปร 1 ค่าพลังงานไฟฟ้า (kWh) ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (kW) ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ (kVar) ค่าบริการรายเดือน ค่าไฟฟ้าฐาน + 2 ค่า Ft ค่าไฟฟ้าผันแปร + 3 ภาษีมูลค่าเพิ่ม

ค่าพลังงานไฟฟ้า (1 หน่วย) = ค่าพลังไฟฟ้า 1 กิโลวัตต์ x 1 ชั่วโมง 1 กิโลวัตต์ = 1,000 วัตต์ ตัวอย่างเช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า ขนาด 500 วัตต์ เปิดใช้งาน 2 ชั่วโมง พลังงานไฟฟ้า = 0.5 กิโลวัตต์ X 2 ชั่วโมง = 1 หน่วย

ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า คือ กำลังไฟฟ้าที่ใช้จริงเป็นกิโลวัตต์ เฉลี่ยทุก 15 นาที ค่าความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด คือ ความต้องการพลังไฟฟ้าเป็นกิโลวัตต์ ที่เฉลี่ยทุก 15 นาที โดยเลือกค่าที่สูงที่สุดในรอบเดือนนั้น เป็นค่า ความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด (เศษของกิโลวัตต์ ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวัตต์ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 0.5 กิโลวัตต์ขึ้นไป คิดเป็น 1 กิโลวัตต์)

ค่าพลังไฟฟ้าสูงสุด (Peak Demand : kW) 8.00 น. 12.00 น. 13.00 น. 19.00 น. kW เวลา 21.00 น. 6.00 น. 500 kW ปั๊มน้ำ= 50 kW 450 kW แสงสว่าง+อื่นๆ 150 kW เครื่องปรับอากาศ 300 kW ปั๊มน้ำ = 50 kW

เขามีหลักการหาค่า “Peak Demand” อย่างไร ? 1,000 kW 650 kW 100 kW 0.00 น. 0.15 น. 0.30 น. 0.45 น. 1.00 น. 8.00 น. 24.00 น.

สำหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีเพาเวอร์แฟคเตอร์ (Lagging) ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ สำหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีเพาเวอร์แฟคเตอร์ (Lagging) ถ้าในรอบเดือนใดผู้ใช้ไฟฟ้า มีความต้องการพลังไฟฟ้ารีแอคตีฟเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด เมื่อคิดเป็นกิโลวาร์ เกินกว่าร้อยละ 61.97 ของความต้องการพลังไฟฟ้าแอคตีฟเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด เมื่อคิดเป็นกิโลวัตต์แล้ว เฉพาะส่วนที่เกินจะต้องเสียค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ ในอัตรากิโลวาร์ละ 14.02 บาท (สำหรับการเรียกเก็บเงินค่าไฟฟ้าในรอบเดือนนั้น เศษของกิโลวาร์ ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวาร์ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 0.5 กิโลวาร์ขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลวาร์)

ค่า Ft ค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ หรือค่าไฟฟ้าผันแปร หรือที่เรียกกันสั้นๆว่าค่า Ft (Factor of Tariff) เป็นค่าไฟฟ้าที่ปรับเปลี่ยนเพิ่มขึ้นหรือลดลง ตามการเปลี่ยนแปลง ของต้นทุนค่าใช้จ่ายด้านเชื้อเพลิง และค่าซื้อไฟฟ้า ที่อยู่นอกเหนือการควบคุมของการไฟฟ้า โดยจะมีการปรับเปลี่ยนทุกๆ 4 เดือน

แสดงภาระใช้ไฟฟ้าของประเทศ ที่มา : การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

ประเภทผู้ใช้ไฟฟ้า 1. บ้านอยู่อาศัย 1.1 อัตราปกติ 1.1.1 Energy<150 kWh 1.1.2 Energy >150 kWh 1.2 เลือกอัตรา TOU ได้

2. กิจการขนาดเล็ก 2.1อัตราปกติ (Demand<30 kW) 2.2 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ TOU สามารถเลือกใช้อัตรา TOU ได้อีกด้วย (โดยไม่เสียค่าความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด)

3. กิจการขนาดกลาง 4. กิจการขนาดใหญ่ Demand 30-999 kW, Energy <250,000 kWh 3.1 อัตราปกติ 3.2 อัตรา TOU 4. กิจการขนาดใหญ่ Demand >1,000 kW, Energy >250,000 kWh 4.1 อัตรา TOD 4.2 อัตรา TOU

5.กิจการเฉพาะอย่าง 6.ส่วนราชการและองค์กรที่ไม่แสวงหากำไร 7.สูบน้ำเพื่อการเกษตร 8.ไฟฟ้าชั่วคราว

อัตราค่าไฟฟ้า 1) อัตราปกติ (Two Part Tariff) 2) อัตราตามช่วงเวลาของวัน (TOD Tariff) 3) อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (TOU Tariff)

1.1อัตราปกติ (ประเภทที่ 1 บ้านอยู่อาศัย) 1.1อัตราปกติ (ประเภทที่ 1 บ้านอยู่อาศัย) 1.1.1 ปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าไม่เกิน 150 หน่วยต่อเดือน อัตรารายเดือน : พลังงานไฟฟ้า   หน่วยที่ ราคาค่าพลังงานไฟฟ้า 15 หน่วยแรก หน่วยที่ 0-15 1.8632 บาท 10 หน่วยต่อไป หน่วยที่ 16-25 2.5026 บาท หน่วยที่ 26-35 2.7549 บาท 65 หน่วยต่อไป หน่วยที่ 36-100 3.1381 บาท 50 หน่วยต่อไป หน่วยที่ 101-150 3.2315 บาท 250 หน่วยต่อไป หน่วยที่ 151-400 3.7362 บาท เกิน 400หน่วยขึ้นไป หน่วยที่ 401เป็นต้นไป 3.9361 บาท ค่าบริการ : เดือนละ 8.19 บาท หมายเหตุ ประเภท 1.1.1ใช้ไฟฟ้าไม่เกิน 90 หน่วยต่อเดือนได้รับสิทธิค่าไฟฟ้าฟรี

1.1.2 ปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าเกินกว่า 150 หน่วยต่อเดือน อัตรารายเดือน : พลังงานไฟฟ้า  หน่วยที่ ราคาค่าพลังงานไฟฟ้า 150 หน่วยแรก หน่วยที่ 0-150 2.7628 บาท 250 หน่วยต่อไป หน่วยที่ 151-400 3.7362 บาท เกิน 400 หน่วยขึ้นไป หน่วยที่ 401เป็นต้นไป 3.9361 บาท ค่าบริการ : เดือนละ 38.22 บาท

ค่าไฟฟ้า = ค่าไฟฟ้าฐาน + ค่าไฟฟ้าผันแปร + ภาษีมูลค่าเพิ่ม ตัวอย่าง การคิดค่าไฟฟ้าของผู้ใช้ไฟฟ้า ประเภทที่1 บ้านอยู่อาศัย ส่วนที่ 1 หน่วยที่ใช้ ประเภท 1.1.2 ค่าไฟฟ้า = ค่าไฟฟ้าฐาน + ค่าไฟฟ้าผันแปร + ภาษีมูลค่าเพิ่ม

ค่าไฟฟ้า = ค่าไฟฟ้าฐาน + ค่าไฟฟ้าผันแปร + ภาษีมูลค่าเพิ่ม บ้านอยู่อาศัย เกินกว่า 150 หน่วยต่อเดือน ส่วนที่ 2 Ft หน่วยที่ใช้ 150X2.7628 270x(68.86/100) 120X3.7362 ค่าไฟฟ้า = ค่าไฟฟ้าฐาน + ค่าไฟฟ้าผันแปร + ภาษีมูลค่าเพิ่ม

ค่าไฟฟ้า = ค่าไฟฟ้าฐาน + ค่าไฟฟ้าผันแปร + ภาษีมูลค่าเพิ่ม วิธีคำนวณ พลังงานไฟฟ้า = 270 หน่วย อัตราค่าไฟฟ้าผันแปร (Ft) = - 0.06 สต./หน่วย 1. ค่าบริการ = 38.22 บาท 2. ค่าไฟฟ้า 150 หน่วยแรก = 414.42 บาท (150 x 2.7628) 3. ค่าไฟฟ้า 250 หน่วยต่อไป = 448.344 บาท (120 x 3.7362) 4. รวมค่าพลังงานไฟฟ้า(++) = 900.984 บาท 5. ค่า (Ft) (270 x -0.06) = -16.20 บาท 6. รวมเงินค่าไฟฟ้า (+) = 884.78 บาท 7. ค่าภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% = 61.93 บาท 8. รวมเงินที่ต้องชำระ (+) = 946.72 บาท

ค่าบริการ (บาท/เดือน) 2. กิจการขนาดเล็ก 2.1อัตราปกติ (Demand<30 kW) 2.2 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ TOU ประเภท ราคาค่าพลังงานไฟฟ้า (บาท/หน่วย) ค่าบริการ (บาท/เดือน) 2.1.1 แรงดัน 22-33 kV 3.6246 312.24

2.1.2 แรงดันต่ำกว่า 22 kV อัตรารายเดือน : ค่าพลังงานไฟฟ้า หน่วยที่  หน่วยที่ ราคาค่าพลังงานไฟฟ้า 150 หน่วยแรก หน่วยที่ 0-150 2.7628 บาท 250 หน่วยต่อไป หน่วยที่ 151-400 3.7362 บาท เกิน 400 หน่วยขึ้นไป หน่วยที่ 401เป็นต้นไป 3.9361 บาท ค่าบริการ : เดือนละ 46.16 บาท

ค่าบริการ (บาท/เดือน) 2.2 อัตราอัตราตามช่วงเวลาของการใช้ TOU ประเภท ค่าพลังงานไฟฟ้า (บาท/หน่วย) ค่าบริการ (บาท/เดือน) peak Off peak 2.2.1 แรงดัน 22-33 kV 4.8527 2.1495 312.24 2.2.2 แรงดันต่ำกว่า 22 kV 5.2674 2.1827 46.16

อัตราปกติ ประเภทที่ 3.1 กิจการขนาดกลาง

อัตราปกติ ค่าไฟฟ้า = (ค่าพลังงานไฟฟ้า + ค่าพลังไฟฟ้าสูงสุด +Ft) x VAT 0.00น. 24.00น. kW Peak Demand kW = 196.26 บาท kWh = 2.7815 บาท

ค่าไฟฟ้า = ค่าไฟฟ้าฐาน + ค่าไฟฟ้าผันแปร + ภาษีมูลค่าเพิ่ม ตัวอย่าง การคิดค่าไฟฟ้าของผู้ใช้ไฟฟ้า อัตราปกติ ประเภทที่ 3 กิจการขนาดกลาง (3.1.2) ที่ระดับแรงดัน 12-24 กิโลโวลต์ (สาขาย่อย อาคารหลังเดียว หรืออาคารพาณิชย์หลายคูหา ) 183,000x2.7815 500x196.26 Ft (410-(500*0.6197))x14.02 183,000x(21.95/100)

ค่าไฟฟ้า = ค่าไฟฟ้าฐาน + ค่าไฟฟ้าผันแปร + ภาษีมูลค่าเพิ่ม วิธีคำนวณ ความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด = 500 กิโลวัตต์ ความต้องการพลังไฟฟ้าเสมือน = 410 กิโลวาร์ พลังงานไฟฟ้า (kWh, Unit) = 183,000 หน่วย อัตราค่าไฟฟ้าผันแปร (Ft.) = 21.95 สต./หน่วย 1. ค่าความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด (500 x 196.26) = 98,130 บาท 2. ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ = 1,402 บาท ((410-(500 x 0.6197 ตัดทศนิยมศูนย์ตำแหน่ง)) x 14.02) 3. ค่าพลังงานไฟฟ้า (183,000 x 2.7815) = 509,014.50 บาท 4. ค่า (Ft.) (183,000 x -0.06) = บาท 5. รวมเงินค่าไฟฟ้า (+++) = บาท 6. ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% = บาท 7. รวมเงินที่ต้องชำระ (+) = บาท

ค่าไฟฟ้า = ค่าไฟฟ้าฐาน + ค่าไฟฟ้าผันแปร + ภาษีมูลค่าเพิ่ม ตัวอย่าง การคิดค่าไฟฟ้าของผู้ใช้ไฟฟ้า อัตราปกติ ประเภทอัตรา 30 กิจการขนาดกลาง แรงดัน 22-33 กิโลโวลต์ (เทียบได้กับอัตรา 3.1.2 แรงดัน 12–24 กิโลโวลต์ กฟน.) 0.3317-0.0229-0.0476 Ft Peak Demand (kW) (35.720-35.395)x2000 (4520.90-4417.41)x2000 Energy (kWh) 650x196.26

ค่าไฟฟ้า = ค่าไฟฟ้าฐาน + ค่าไฟฟ้าผันแปร + ภาษีมูลค่าเพิ่ม วิธีคำนวณ ความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด = 650 กิโลวัตต์ พลังงานไฟฟ้า (kWh, Unit) = 206,980 หน่วย อัตราค่าไฟผันแปร (Ft.) = 0.3317 บาท/หน่วย ค่าบริการ (ไม่มี) = - ค่าส่วนลดระบบส่ง = (-0.0229) บาท/หน่วย ค่าส่วนลดระบบจำหน่าย = (-0.0476) บาท/หน่วย 1. ค่าความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด (650 x 196.26) = 127,569.00 บาท 2. ค่าพลังงานไฟฟ้า (206,980 x 1.7034) = 352,569.73 บาท 3. ค่า Ft (206,980 x 0.3317) = 68,655.27 บาท 4. ส่วนลดระบบส่ง [206,980 x (-0.0229)] = (-4,739.84) บาท 5. ส่วนลดระบบจำหน่าย [206,980 x (-0.0476)] = (-9,852.25) บาท 6. รวมค่า Ft (++) = 54,063.18 บาท 7. รวมเงินค่าไฟฟ้า (++) = 534,201.91 บาท 8. ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% = 37,394.13 บาท 9. รวมเงินที่ต้องชำระ (+) = 571,596.04 บาท

อัตราตามช่วงเวลาของวัน (TOD) ประเภทที่ 4.1 กิจการขนาดใหญ่

อัตราตามช่วงเวลาของวัน (TOD) ค่าไฟฟ้า = (ค่าพลังงานไฟฟ้า + ค่าพลังไฟฟ้าสูงสุด + Ft) x VAT kWh = 2.7815 บาท PP - OP kW = 58.88 บาท 8.00น. 18.30น. 21.30น. 0.00น. 24.00น. kW PARTIAL PEAK kW = 285.05บาท ON PEAK kW = 0 บาท OFF PEAK

ค่าไฟฟ้า = ค่าไฟฟ้าฐาน + ค่าไฟฟ้าผันแปร + ภาษีมูลค่าเพิ่ม ตัวอย่าง การคิดค่าไฟฟ้าของผู้ใช้ไฟฟ้า อัตราตามช่วงเวลาของวัน (Time of Day Tariff : TOD Tariff) ประเภทที่ 4 กิจการขนาดใหญ่ อัตรา 4.1.2 แรงดัน 12-24 กิโลโวลต์ 358,000x(38.28/100) 358,000x2.7815 534x285.05 (841-534)x58.88 769x0.00 ค่าไฟฟ้า = ค่าไฟฟ้าฐาน + ค่าไฟฟ้าผันแปร + ภาษีมูลค่าเพิ่ม

ค่าไฟฟ้า = ค่าไฟฟ้าฐาน + ค่าไฟฟ้าผันแปร + ภาษีมูลค่าเพิ่ม วิธีคำนวณ ความต้องการพลังไฟฟ้า (ช่วง On Peak) = 534 กิโลวัตต์ ความต้องการพลังไฟฟ้า (ช่วง Partial Peak) = 841 กิโลวัตต์ ความต้องการพลังไฟฟ้า (ช่วง Off Peak) = 769 กิโลวัตต์ ความต้องการพลังไฟฟ้าเสมือน = 352 กิโลวาร์ พลังงานไฟฟ้า (ตลอดช่วงเวลา) = 358,000 หน่วย ค่าอัตราค่าไฟฟ้าผันแปร (Ft) = 38.28 สต./หน่วย 1. ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (ช่วง On Peak) (534 x 285.05) = 152,217.00 บาท 2. ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (ช่วง Partial Peak) ((841 – 534) x 58.88) = 18,076.00 บาท 3. ค่าพลังงานไฟฟ้า (ตลอดช่วงเวลา) (358,000 x 2.7815) = 995,777.00 บาท 4. ค่า (Ft) (358,000 x -0.06) = บาท 5. รวมเงินค่าไฟฟ้า (+++) = บาท 6. ค่าภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% = บาท รวมเงินที่ต้องชำระ (+) = บาท

อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (TOU) ประเภทที่ 4.2 กิจการขนาดใหญ่

อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (TOU) ค่าไฟฟ้า = (ค่าพลังงานไฟฟ้า + ค่าพลังไฟฟ้าสูงสุด + Ft) x VAT จันทร์-ศุกร์ (22.00-9.00น.) และ เสาร์-อาทิตย์-วันหยุดทั้งวัน kW = 0 บาท kWh = 2.2695 บาท จันทร์-ศุกร์ (9.00-22.00น.) kW = 132.93 บาท kWh = 3.7731 บาท 9.00น. 22.00น. 0.00น. 24.00น. kW ON PEAK OFF PEAK

ค่าไฟฟ้า = ค่าไฟฟ้าฐาน + ค่าไฟฟ้าผันแปร + ภาษีมูลค่าเพิ่ม ตัวอย่าง การคิดค่าไฟฟ้าของผู้ใช้ไฟฟ้า อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (Time of Use Tariff : TOU Tariff) ประเภทที่ 4 กิจการขนาดใหญ่ อัตรา 4.2.2 แรงดัน 12-24 กิโลโวลต์ 1* คือ ช่วง On Peak 2* คือ ช่วง Off Peak (186,000x3.7731)+(207,000x2.2695) (1,050x132.93)+(1,041x0) (186,000+207,000)x0.2612)

ค่าไฟฟ้า = ค่าไฟฟ้าฐาน + ค่าไฟฟ้าผันแปร + ภาษีมูลค่าเพิ่ม วิธีคำนวณ ความต้องการพลังไฟฟ้า (คิดเฉพาะช่วง Peak) = 1,050 กิโลวัตต์ ความต้องการพลังไฟฟ้าเสมือน = 1,104 กิโลวาร์ พลังงานไฟฟ้า (ช่วง On Peak) = 186,000 หน่วย พลังงานไฟฟ้า (ช่วง Off Peak) = 207,000 หน่วย ค่าอัตราค่าไฟฟ้าผันแปร (Ft.) = 26.12 สต./หน่วย ค่าบริการ = 312.24 บาท ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ = 6,351.00 บาท 1. ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (1,050 x 132.93) = 139,577.00 บาท 2. ค่าพลังงานไฟฟ้า (ช่วง On Peak) (186,000 x 3.7731) = 701,797.00 บาท 3. ค่าพลังงานไฟฟ้า (ช่วง Off Peak) (207,000 x 2.2695) = 469,786.50 บาท 4. ค่า (Ft.) ((186,000 + 207,000)) x 0.2612) = 102,651.60 บาท

ค่าไฟฟ้า = ค่าไฟฟ้าฐาน + ค่าไฟฟ้าผันแปร + ภาษีมูลค่าเพิ่ม วิธีคำนวณ 5. รวมเงินค่าไฟฟ้า (+++) = บาท 6. ค่าภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% = บาท รวมเงินที่ต้องชำระ (+) = บาท

ค่าไฟฟ้า = ค่าไฟฟ้าฐาน + ค่าไฟฟ้าผันแปร + ภาษีมูลค่าเพิ่ม ตัวอย่าง การคิดค่าไฟฟ้าของผู้ใช้ไฟฟ้า อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (Time of Use Tariff : TOU Tariff) ประเภทอัตรา 40 กิจการขนาดใหญ่ แรงดัน 22-33 กิโลโวลต์ (เทียบได้กับอัตรา 4.2.2 แรงดัน 12- 24 กิโลโวลต์ กฟน.) ค่าไฟฟ้า = ค่าไฟฟ้าฐาน + ค่าไฟฟ้าผันแปร + ภาษีมูลค่าเพิ่ม

ค่าไฟฟ้า = ค่าไฟฟ้าฐาน + ค่าไฟฟ้าผันแปร + ภาษีมูลค่าเพิ่ม ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า ค่าพลังงานไฟฟ้า ช่วง On Peak ช่วง Off Peak ช่วง Off Holiday

ค่าไฟฟ้า = ค่าไฟฟ้าฐาน + ค่าไฟฟ้าผันแปร + ภาษีมูลค่าเพิ่ม วิธีคำนวณ ความต้องการพลังไฟฟ้า (คิดเฉพาะช่วง Peak) = 948 กิโลวัตต์ พลังงานไฟฟ้า (ช่วง On Peak) = 198,760 หน่วย พลังงานไฟฟ้า (ช่วง Off Peak) = 208,140 หน่วย พลังงานไฟฟ้า (ช่วง Off Holiday) = 271,580 หน่วย ค่าอัตราค่าไฟฟ้าผันแปร (Ft.) = 28.11 สต./หน่วย ค่าบริการ = 228.17 บาท ค่าส่วนลดระบบส่ง = -0.0102 บาท/หน่วย ค่าส่วนลดระบบจำหน่าย = -0.0514 บาท/หน่วย 1. ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (948 x 132.93) = 126,017.64 บาท 2. ค่าพลังงานไฟฟ้า (ช่วง On Peak) (198,760 x 2.6950) = 535,658.20 บาท 3. ค่าพลังงานไฟฟ้า (ช่วง Off Peak) (208,140 x 1.1914) = 247,978.00 บาท 4. ค่าพลังงานไฟฟ้า (ช่วง Off Holiday) (271,580 x 1.1914) = 323,560.41 บาท

ค่าไฟฟ้า = ค่าไฟฟ้าฐาน + ค่าไฟฟ้าผันแปร + ภาษีมูลค่าเพิ่ม 5. ค่า (Ft.) (678,480 x 0.2811) = 190,720.73 บาท 6. ส่วนลดระบบส่ง (678,480 x (-0.0102)) = (-6,920.50) บาท 7. ส่วนลดระบบจำหน่าย ((678,480 x (-0.0514)) = (-34,873.87) บาท 8. รวมค่า (Ft.) (++) = 148,926.36 บาท 9. ค่าบริการ = 228.17 บาท 10. รวมค่าไฟฟ้า (+++++) = 1,382,368.78 บาท 11. ค่าภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% = 96,765.81 บาท 12. รวมเงินค่าไฟฟ้า (+11) = 1,479,134.59 บาท

หน่วยงานแห่งนี้เสียค่าไฟในอัตราแบบใด???

อัตราปกติ ประเภทที่ 6.1 อัตราปกติ

ค่าไฟฟ้า = ค่าไฟฟ้าฐาน + ค่าไฟฟ้าผันแปร + ภาษีมูลค่าเพิ่ม 11876.00 x 0.9255 11876.00 x 3.2193 25657.06 + 10991.24

ประโยชน์ที่ได้จากการลดพลังไฟฟ้าสูงสุด 1) ได้ลดค่าไฟฟ้า (ค่าไฟฟ้าต่อหน่วยถูกลง) 2) ลดภาระต่อระบบไฟฟ้าของหน่วยงาน ทำให้สามารถจ่ายโหลดอื่น ๆ เพิ่มเติมได้มากขึ้น 3) ระบบไฟฟ้าของประเทศมีประสิทธิภาพสูงขึ้น

แนวทางการลดค่าพลังไฟฟ้าสูงสุด 1) เปลี่ยนแปลงเวลาทำงานของเครื่องจักรขนาดใหญ่ ไม่ให้ทำงานพร้อม ๆ กัน ลดปริมาณการใช้ไฟฟ้าของเครื่องจักรลง ในเวลาที่มีการใช้งานพร้อมกัน 3) เลือกใช้อุปกรณ์ประสิทธิภาพสูง 4) ใช้ระบบเก็บสะสมพลังงานแทนระบบปกติ เช่น ระบบปรับอากาศแบบ ICE STORAGE

ขั้นตอนในการดำเนินการควบคุมพลังไฟฟ้าสูงสุด 1) บันทึกข้อมูลการใช้ไฟฟ้ารายวัน (Daily Load Curve) รวบรวมข้อมูลของอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ วิเคราะห์ช่วงเวลาในการเปิด/ปิดอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ แบ่งกลุ่มอุปกรณ์ไฟฟ้า 4.1) กลุ่มที่ไม่สามารถหยุดเดินได้ 4.2) กลุ่มที่หยุดเดินได้บางช่วงเวลา 5) ดำเนินการควบคุมและติดตามผล 5.1) ย้ายเวลาเปิดอุปกรณ์บางตัวในช่วง On Peak 5.2) ปลดอุปกรณ์บางตัว เมื่อปริมาณการใช้เกินกำหนด (โดยการใช้อุปกรณ์ควบคุมอัตโนมัติ) Load Profile Example

ตารางการเปิดอุปกรณ์หรือเครื่องจักรที่ใช้ไฟฟ้า Peak

วิธีการควบคุมพลังไฟฟ้าสูงสุด 1) ใช้คนควบคุมให้มี การใช้พลังไฟฟ้า ตามที่กำหนด 2) ใช้อุปกรณ์ควบคุมอัตโนมัติ เช่น Demand Controller, BAS

สรุปวิธีการลดค่าไฟฟ้าของหน่วยงาน โดยไม่ต้องใช้เงินลงทุน สรุปวิธีการลดค่าไฟฟ้าของหน่วยงาน โดยไม่ต้องใช้เงินลงทุน ก่อนอื่น ต้องรู้เขารู้เรา ปรับตัวตามกระบวนท่า ต้นหลิวลู่ลม ใช้ คัมภีร์จัดสรรปันส่วนฟ้าดินเท่าเทียม

เพื่อโลกสีเขียว