ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม.
Advertisements

การเคลื่อนที่.
2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
(Impulse and Impulsive force)
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
ลำดับเรขาคณิต Geometric Sequence.
การวิเคราะห์ความเร็ว
การวิเคราะห์ความเร่ง
บทที่ 3 การเคลื่อนที่.
Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์
ระบบอนุภาค การศึกษาอนุภาคตั้งแต่ 2 อนุภาคขึ้นไป.
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
โมเมนตัมและการชน.
Rigid Body ตอน 2.
การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป.
แรงตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน มี 3 ประเภท คือ 1
2. การเคลื่อนที่แบบหมุน
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
สเฟียโรมิเตอร์(Spherometer)
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in one dimeusion)
บทที่ 1เวกเตอร์สำหรับฟิสิกส์ จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 3 ชั่วโมง
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 1 ชั่วโมง
ว ความหนืด (Viscosity)
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (Projectile motion)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่องงาน
ระบบอนุภาค.
เครื่องเคาะสัญญาณ.
Introduction to Statics
สัดส่วนและการหาค่าตัวแปร
การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้สัดส่วน ( 2 )
การกระจัด ความเร็ว อัตราเร็ว
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
การแจกแจงปกติ.
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
ทฤษฎีบททวินาม (Binomial Theorem)
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สอนโดย ครูปพิชญา คนยืน.
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
สื่อการสอนคณิตศาสตร์
รถยนต์วิ่งมาด้วยความเร็วคงที่ 10 เมตร/วินาที ขณะที่อยู่ห่างจากสิ่งกีดขวางเป็นระยะทาง 35 เมตร คนขับก็ตัดสินใจห้ามล้อโดยเสียเวลา 1 วินาที ก่อนห้ามล้อจะทำงาน.
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
กิจกรรมชุดที่ 9 การวัดแรงโน้มถ่วง.
หน้า 1/6. หน้า 2/6 กำลัง หมายถึง อัตราการทำงาน หรือ สิ่งที่บ่งบอกว่า งานที่ทำในเวลานั้น ๆ มีมาก น้อยเพียงไร การคิดจะคล้ายกับงาน นั่นคือ ถ้า เมื่อไรก็ตาม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด

2 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง B ไป C C 3 อัตราเร็วเฉลี่ยตลอดการเคลื่อนที่ 4 m A B 3 m

4 ความเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B C 5 ความเร็วเฉลี่ยช่วง B ไป C 4 m A B 3 m 6 ความเร็วเฉลี่ยตลอดการเคลื่อนที่ ขนาดความเร็วเฉลี่ย หรือ อัตราเร็วเฉลี่ย

ตัวอย่าง วัตถุมวล 1 กิโลกรัม เคลื่อนที่วงกลมตามสมการ เมื่อ เป็นเวกเตอร์ระบุตำแหน่งในหน่วยเมตร t เป็นเวลาหน่วยวินาที 1 จงหาตำแหน่ง เมื่อเริ่มต้นเคลื่อนที่ (t=0) วิธีทำ แทนค่า t=0 ลงในสมการ ตามโจทย์ 1

2 จงหาตำแหน่ง เมื่อผ่านไป 1 วินาที วิธีทำ แทนค่า t=1 ลงในสมการ ตามโจทย์ -1

สังเกต ถ้าเราแทนค่าที่เวลาอื่น ๆ 1 -1 1 ลองแทนค่าที่เวลาอื่น ๆ ดูนะครับ

y x แนวการเคลื่อนที่เป็นวงกลม รัศมี 2 เมตร

3 จงหาอัตราเร็วเฉลี่ยระหว่างวินาทีแรก ถึง วินาที 1 วิธีทำ 4 จงหาอัตราเร็วเฉลี่ยระหว่างวินาที 1 ถึง วินาที

5 จงหาอัตราเร็วเฉลี่ยระหว่างวินาทีแรก ถึง วินาที 2 วิธีทำ 6 จงหาความเร็วเฉลี่ยระหว่างวินาทีแรก ถึง วินาที 1 ความเร็วมีขนาด 4 m/s

7 จงหาความเร็วเฉลี่ยระหว่างวินาที 0 ถึง วินาที 0.5 วิธีทำ ความเร็วมีขนาด

8 จงหาความเร็ว ณ วินาทีใด ๆ ตอบ

9 จงหาความเร็ว ณ วินาที 1 จาก แทนค่า t=1 -1 ขนาดความเร็ว(อัตราเร็ว) 6.28 m/s มีทิศ

10 ความเร็ว ณ วินาที 2 ( ทำเอง ) แทนค่า t=1 1 ขนาดความเร็ว(อัตราเร็ว) 6.28 m/s ทิศ

11 จงหาความเร็ว ณ วินาที 0.5 และ 1.5 เฉลย

12 วัตถุมีอัตราเร็วคงที่หรือไม่ ตอบ มีอัตราเร็วคงที่ พราะขนาดความเร็ว(อัตราเร็ว) เป็น 6.28 m/s เสมอ 13 วัตถุมีความเร็วคงที่หรือไม่ ตอบ ความเร็วไม่คงที่ เพราะแม้ว่าขนาดความเร็วจะเท่าเดิม แต่ความเร็วมีทิศเปลี่ยนแปลงเสมอ 14 วัตถุมีความเร่งหรือไม่ ตอบ มีความเร่ง เพราะความเร็วไม่คงที่

15 ความเร่งเฉลี่ย ระหว่างวินาที 1 ถึงวินาที 2 เป็นเท่าใด

16 ความเร่งเฉลี่ย ระหว่างวินาที 1 ถึงวินาที 1.5 เป็นเท่าใด

17 ความเร่ง ณ วินาทีใด ๆ

18 ความเร่ง ณ วินาที 1 แทนค่า t=1 -1

พื้นที่ใต้กราฟ ระหว่างความเร่งกับเวลา ของช่วงใด จะเท่ากับ ความเร็วเฉลี่ยของช่วงนั้น