(Structure of the Earth)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ข้อสอบ o-Net คลื่นกล.
Advertisements

สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา ฟิสิกส์ เรื่อง คลื่น ระดับช่วงชั้นที่ 4
ชนิดของหินโดยประมาณ พบเป็น โดยรวมหินแปรไว้ในหินต้นกำเนิดเหล่านี้แล้ว
3. ของเหลว 3.1 สมบัติทั่วไปของของเหลว ความดันไอ จุดหลอมเหลว และ
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
หินแปร (Metamorphic rocks)
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
ดาวอังคาร (Mars).
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
โดย อาจารย์ อนุกูล บูรณประทีปรัตน์
and Sea floor spreading
กลุ่ม ดาวโลก ด.ญ.กรรณิการ์ เพ็งเอี่ยม เลขที่ 11 ม.2/1
แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน
Ecology นิเวศวิทยา Jaratpong moonjai.
แผ่นดินไหว.
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
รายงาน เรื่อง การเกิดแผ่นดินไหว นาย สุรัชชัย สายโอภาส ม. 5/3
ระบบสุริยะ (Solar System).
ดวงอาทิตย์ The Sun.
น้ำและมหาสมุทร.
Clouds & Radiation.
ระบบอนุภาค.
ขนาดและคลื่นแผ่นดินไหว Magnitude and Seismogram
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
วัสดุศาสตร์ Materials Science.
แก้ว แก้วเป็นวัสดุที่มีลักษณะพิเศษ ซึ่งไม่มีวัสดุวิศวกรรมใดเหมือน เพราะเป็นวัสดุที่โปร่งใส แข็งที่อุณหภูมิห้อง พร้อมกันนั้นมีความแข็งแรงเพียงพอและทนทานต่อการกัดกร่อนในสภาพแวดล้อมต่างๆ.
ไต้หวัน 20 กันยายน 2542, M 7.6, Chelongpu Fault.
สัณฐานและโครงสร้างของโลก
ความอุดมสมบูรณ์ของดินกับการเจริญเติบโตของพืช
สารละลายและค่าการละลาย (Solution and Solubility)
เปลือกโลก(crust) ประกอบด้วย Oxygen 45.2 ซิลิกอน 27.2 อลูมิเนียม 8.2
ความหมายและชนิดของคลื่น
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
กาแล็กซีและเอกภพ.
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
กระบวนการแพร่และออสโมซิส The process of diffusion and osmosis.
หมีขั้วโลก.
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
โลกของเรา (โครงสร้างและส่วนประกอบ)
ซ่อมเสียง.
วิทยาศาสตร์ ว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน.
แผนภูมิสมดุล การผสมโลหะ (Alloy) คุณสมบัติของการผสม
โลก (Earth).
ยูเรนัส (Uranus).
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
ดวงจันทร์ (Moon).
โลกและการเปลี่ยนแปลง
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
ดาวพุธ (Mercury).
ดาวศุกร์ (Venus).
ดาวพลูโต (Pluto).
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
ดาวเนปจูน (Neptune).
วิทยาศาสตร์ Next.
ดาวเสาร์ (Saturn).
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
Facies analysis.
ชื่อเรื่อง ดาวเคราะห์
โครงสร้างภายในของโลก แบ่งตามคุณสมบัติทางกายภาพ
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
4.1 Borehole environment สภาวะความดันระหว่างการเจาะและการหยั่งธรณีในหลุมเจาะ เกิดจากปัจจัยสองส่วนคือ - ความดันในชั้นหิน - ความดันของคอลัมน์ของน้ำโคลน.
ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด.ช.นครินทร์ ขันอ้าย ชั้น ม.1/11 เลขที่ 4
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ระบบสุริยะ จักรวาล.
หินแกรนิต หินแปรเนื้อหยาบ มีริ้วขนาน หยักคดโค้งไม่สม่ำเสมอ สีเข้มและจางสลับกัน แปรสภาพมาจากหินแกรนิต โดยการแปรสภาพบริเวณไพศาล ที่มีอุณหภูมิสูงจนแร่หลอมละลาย.
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
โครงสร้างโลก.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

(Structure of the Earth) โครงสร้างภายในโลก (Structure of the Earth) โครงสร้างภายในโลกจะมีการแบ่งเป็นชั้นๆ เหมือนหัวหอม เพราะอะไร ? Structure of the Earth

โลกเกิดขึ้นมาได้อย่างไร พิจารณาจากทฤษฎีการกำเนิดของดวงดาว ที่ยอมรับกันอยู่ในปัจจุบัน Expansion Nebula Supernova Galaxy, Star BigBang Big bang - 15 พันล้านปีที่แล้ว Solar System - เกิดขึ้นเมื่อราว 5 พันล้านปีที่ผ่าน มา Structure of the Earth

ภาพจำลองการเกิดระบบสุริยะจักรวาล Structure of the Earth

โลก - มีองค์ประกอบของสารได้แก่ MgO, SiO2, FeO, Fe, Ni, some water, NH4 ดาวเคราะห์วงใน (Inner Planets) - มีองค์ประกอบเป็นพวกธาตุ หนัก มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดที่อุณหภูมิสูงมาก โลก - มีองค์ประกอบของสารได้แก่ MgO, SiO2, FeO, Fe, Ni, some water, NH4 ดาวเคราะห์วงนอก (Outer Planets) - มีองค์ประกอบเป็นพวก ธาตุเบา มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดที่อุณหภูมิต่ำ ดังนั้น ดาว Jupiter, Saturn, Uranus, Neptune จึงมีองค์ประกอบเป็นธาตุเบาของ hydrogen, methane, ammonia ices Structure of the Earth

โลกและมหาสมุทร เกิดขึ้นมาเมื่อประมาณ 4.5 พันล้านปีที่แล้ว ธาตุหนักเช่นเหล็ก ถูกดึงดูดให้มาสะสมรวมกัน ที่ใจกลางโลก ธาตุที่เบากว่า เช่น silicon, magnesium, aluminum, oxygen ก็มีการจัดเรียงตัวในชั้นนอกออกมา Structure of the Earth

น้ำในโลก 1. ถูกขับออกมาจากภายในโลก โดยภูเขาไฟ ในรูปของไอน้ำ 2. จากดาวหางที่วิ่งเข้ามาชนโลก Structure of the Earth

ลักษณะภายในของโลก แบ่งเป็น 3 ชั้น (ตามองค์ประกอบทางเคมี) 1. Core 2. Mantle 3. Crust Structure of the Earth

ลักษณะโครงสร้างภายในโลก Structure of the Earth

(แบ่งตามองค์ประกอบทางเคมี) Core (แบ่งตามองค์ประกอบทางเคมี) ชั้นในสุด จากใจกลางโลกออกมา มีรัศมีประมาณ 3,470 km. 31.5% ของมวลโลก , 16% ของปริมาตรโลก มีความหนาแน่นมากที่สุด 13 g/cm3 มีองค์ประกอบเป็นธาตุหนัก ได้แก่ เหล็ก (90%) , นิเกิล , ซิลิคอน , กำมะถัน และธาตุหนักอื่น ๆ Structure of the Earth

(แบ่งตามองค์ประกอบทางเคมี) Mantle (แบ่งตามองค์ประกอบทางเคมี) ถัดออกมาจากชั้น Core มีความหนาประมาณ 2,900 km. 68.1% ของมวลโลก, 83% ของปริมาตรโลก ความหนาแน่น 4.5 g/cm3 องค์ประกอบเป็น ออกซิเจน , แมกนีเซียม และซิลิคอน อยู่ในสัดส่วน 4 : 2 : 1 Structure of the Earth

(แบ่งตามองค์ประกอบทางเคมี) Crust (แบ่งตามองค์ประกอบทางเคมี) ชั้นเปลือกโลก อยู่นอกสุด บางที่สุด 0.4% ของมวลโลก , < 1% ของปริมาตรโลก แบ่งเป็น 2 ชนิด 1. Oceanic crust 2. Continental crust Structure of the Earth

Oceanic crust Continental crust Crust แบ่งเป็น 2 ชนิด Structure of the Earth

Crust (แบ่งตามองค์ประกอบทางเคมี) แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ 1. Oceanic crust เป็นเปลือกโลกส่วนที่รองรับบริเวณมหาสมุทร มีความหนาประมาณ 11 km. , ความหนาแน่น 2.9 g/cm3 องค์ประกอบเป็นหิน Basalt (magnesium silicate) หรือ SiMa 2. Continental crust เป็นเปลือกโลกส่วนที่เป็นตัวทวีป มีความหนาประมาณ 35 km. , ความหนาแน่น 2.7 g/cm3 องค์ประกอบเป็นหิน Granite (aluminum silicate) หรือ SiAl Structure of the Earth

การแบ่งลักษณะโครงสร้างภายในโลก ตามคุณสมบัติทางกายภาพ : ตามคุณสมบัติทางกายภาพ : 1. Core 2. Mesosphere 3. Asthenosphere 4. Lithosphere Structure of the Earth

Core (แบ่งตามคุณสมบัติทางกายภาพ) แบ่งออกเป็น 2 ส่วน Outer core มีอุณหภูมิสูงสุด ~ 4,000 o C มีคุณสมบัติเป็น ของเหลว ไหลได้ Inner core มีอุณหภูมิสูงสุด ~ 4,800 o C มีคุณสมบัติเป็น ของแข็ง ** สนามแม่เหล็กโลกเกี่ยวข้องกับการไหล ของ outer core รอบ inner core Structure of the Earth

Lithosphere Asthenosphere Mesosphere อยู่ชั้นนอกสุด เย็นตัวแล้ว แข็งและแตกหักได้ มีความหนาประมาณ 70 - 100 km. Asthenosphere เป็นส่วนชั้นหินเหลวถัดออกมาจาก Mesosphere อุณหภูมิ 1,500 o C อยู่ถัดออกมาจาก outer core อุณหภูมิ ~ 1,500 - 3,000 o C เป็นของแข็ง Mesosphere Structure of the Earth

Overlap Structure of the Earth

เรารู้ได้อย่างไรว่าโลกมีโครงสร้างภายในอย่างไร ? ศึกษาจากการตรวจจับคลื่นที่เกิดจากแผ่นดินไหว และภูเขาไฟระเบิด อาศัยคุณสมบัติของคลื่น ที่เคลื่อนที่ได้แตกต่างกัน ในตัวกลางต่าง ๆ คลื่นแผ่นดินไหวมี 2 ชนิด คือ P - wave และ S - wave Structure of the Earth

คลื่นแผ่นดินไหว 1. P - wave (Primary หรือ Compressional waves) - เป็นคลื่นตามยาวคล้ายคลื่นเสียง หรือ คลื่นที่เกิดในสปริง - เดินทางได้ในตัวกลางทั้งของแข็งและของเหลว 2. S - wave (Secondary หรือ Shear waves) - คลื่นตามขวาง เหมือนกับการสั่นของเชือก - ไม่สามารถเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางที่เป็นของเหลวได้ Structure of the Earth

Structure of the Earth

อาศัยคุณสมบัติที่ต่างกันของ P -waves และ S -waves เราสามารถที่จะทราบโครงสร้างภายในโลกอย่างหยาบ ๆ ได้ Structure of the Earth

Structure of the Earth

Structure of the Earth

Isostatic Equilibrium หรือ Isostasy คือ การปรับสมดุลย์มวลของชั้นเปลือกโลกที่ล่องลอยอยู่ บนหินเหลว (Asthenosphere) เหมือนกับการลอยของก้อนน้ำแข็ง หรือ เรือลอยในน้ำ ถ้ามีมวลมาก ก็มีส่วนที่จมลงไปในน้ำมาก ถ้ามีมวลน้อย ก็มีส่วนที่ลอยโผล่ขึ้นมาให้เห็นมาก เป็นสมดุลย์ของแรงลอยตัวกับมวลของวัตถุ Structure of the Earth

Structure of the Earth